“ตำรวจ ผนึก สมาคมธนาคารไทย เปิดเล่ห์โจรออนไลน์ เตือนอย่าได้หลงเชื่อโอนเงิน หรือ กดลิ้งก์ทุกประเภท แนะจุดสังเกตุ-วิธีป้องกัน หากโอนเงินจากบัญชี
รีบโทรสายด่วนให้ธนาคารระงับธุรกรรมไว้ชั่วคราว ภายใน 72 ชม.”
ภายหลังที่มีข่าวการแอบอ้างเป็นเจ้าหน้าที่ธนาคารหลอกลวงประชาชน และมีคดีออนไลน์ ที่เกิดขึ้นมาก ได้แก่ การแอบอ้างเป็นศูนย์กระจายสินค้า หลอกให้โอนเงินเพื่อสต๊อกสินค้านั้น
ล่าสุด พล.ต.อ.สมพงษ์ ชิงดวง ที่ปรึกษาพิเศษสำนักงานตำรวจแห่งชาติ(ตร.) และ หัวหน้าคณะทำงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันต้านภัยอาชญากรรมทางเทคโนโลยี พร้อมด้วยคณะทำงาน ร่วมกับ สมาคมธนาคารไทย โดย นายยศ กิมสวัสดิ์ ประธานสำนักงานระบบการชำระเงิน สมาคมธนาคารไทย(TBA) แถลงข่าวเตือนภัยทางออนไลน์
พล.ต.อ.สมพงษ์ กล่าวว่า ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (30 เม.ย.-6 พ.ค.2566) มีสถิติการรับแจ้งความคดีออนไลน์มากที่สุดยังเป็นคดีเดิมๆ 5 อันดับ ได้แก่ อันดับ 1.คดีหลอกลวงซื้อขายสินค้าหรือบริการ 2.คดีหลอกลวงให้โอนเงินเพื่อทำงานหารายได้พิเศษ 3.คดีหลอกลวงให้กู้เงิน 4.คดีหลอกลวงให้ลงทุนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ และ 5.คดีข่มขู่ทางทางโทรศัพท์ให้เกิดความกลัวแล้วหลอกให้โอนเงิน (Call Center)
ด้าน พล.ต.ต.ชูศักดิ์ ขนาดนิด ผู้บังคับการตรวจสอบและวิเคราะห์อาชญากรรมทางเทคโนโลยี บช.สอท. กล่าวว่า ภัยออนไลน์ที่น่าสนใจ และเกิดขึ้นมากในรอบสัปดาห์ เรื่องแรก เป็นเรื่องมิจฉาชีพแอบอ้างเป็นเจ้าหน้าที่ของธนาคารส่ง SMS และโทรศัพท์หลอกลวงผู้เสียหาย มีรายละเอียด ดังนี้
1.คดีนี้รูปแบบแรก มิจฉาชีพส่งข้อความว่า มีผู้เข้าสู่ระบบธนาคารของผู้เสียหายจากอุปกรณ์อื่น หากไม่ได้ดำเนินการด้วยตนเอง ให้ผู้เสียหายติดต่อธนาคารทันที โดยเพิ่มเพื่อนในไลน์กับมิจฉาชีพ ซึ่งใช้ชื่อธนาคาร และอ้างตัวว่า เป็นเจ้าหน้าที่ธนาคารแล้วส่งลิงก์มาให้หลงเชื่อ และกดลิงก์ เพื่อให้ผู้เสียหายดาวน์โหลดแอพพลิเคชันควบคุมเครื่องโทรศัพท์ แล้วโอนเงินออกจากบัญชีผู้เสียหาย
จุดสังเกต
วิธีป้องกัน
2.รูปแบบที่สอง มิจฉาชีพโทรศัพท์หาผู้เสียหายแอบอ้างเป็นเจ้าหน้าที่ธนาคาร แล้วแจ้งว่าบัญชีของผู้เสียหายมีความผิดปกติ หรือติดค้างชำระยอดบัตรเครดิต เมื่อผู้เสียหายหลงเชื่อมิจฉาชีพจะอ้างต่อว่า มีการนำสำเนาบัตรประชาชนของผู้เสียหายไปใช้ เป็นเหตุให้ผู้เสียหายเกี่ยวข้องกับการกระทำผิด แล้วให้โอนเงินไปให้มิจฉาชีพตรวจสอบ
จุดสังเกต
มิจฉาชีพจะโทรศัพท์มาแอบอ้างเป็นเจ้าหน้าที่สถาบันการเงินต่างๆ แล้วเริ่มบทสนทนาพูดคุยโน้มน้าวให้หลงเชื่อ แล้วส่งต่อให้คุยกับเจ้าหน้าที่หน่วยงานบังคับใช้กฎหมายอื่นๆ เพื่อให้เกิดความกลัว แล้วให้โอนเงินให้คนร้ายตรวจสอบ
วิธีป้องกัน
ขณะที่ นายยศ กิมสวัสดิ์ ประธานสำนักงานระบบการชำระเงิน สมาคมธนาคารไทย (TBA) ผู้แทนสมาคมธนาคารไทย กล่าวว่า กรณีมิจฉาชีพแอบอ้างเป็นเจ้าหน้าที่ของธนาคารดังกล่าวข้างต้น ขอให้ประชาชนอย่าได้หลงเชื่อโอนเงินไปตรวจสอบ หรือกดลิ้งก์ทุกประเภท เนื่องจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องออกมาตรการเพื่อแก้ไขปัญหา ดังนี้
พล.ต.ต.ชูศักดิ์ กล่าวว่า ช่วงนี้มีคดีที่มิจฉาชีพแอบอ้างเป็นศูนย์กระจายสินค้า หลอกลวงให้ผู้เสียหายโอนเงินสต๊อกสินค้า โดยโฆษณารับสมัครงานในเฟซบุ๊กว่า สามารถทำงานที่บ้านได้ โดยไม่เสียค่าสมัคร ไม่ต้องอบรม ผู้เสียหายหลงเชื่อทักสอบถาม มิจฉาชีพคนที่ 1 จึงให้แอดไลน์ มิจฉาชีพคนที่ 2 เพื่อแจ้งรายละเอียดการทำงาน
โดยให้ผู้เสียหาย เข้าระบบการทำงานสต๊อกสินค้าที่มิจฉาชีพสร้างขึ้นมาแล้วให้ทำตามขั้นตอนต่างๆ และมีขั้นตอนให้เข้าแอปพลิเคชัน Shopee และ Lazada ของจริง จากนั้นให้กดไลค์ กดแชร์สินค้าที่กำหนด แล้วบันทึกหน้าจอส่งให้ดูพร้อมโอนเงินตามมูลค่าสินค้านั้นๆ เข้าบัญชีมิจฉาชีพ ในระบบจะขึ้นว่าผู้เสียหายได้เครดิตและได้เงินค่าคอมมิชชัน 10% ของราคาสินค้าที่ทำงานสต๊อก เพื่อหลอกให้ผู้เสียหายรู้สึกว่าได้คอมมิชชันจากการทำงานจริง
จากนั้นมิจฉาชีพให้ผู้เสียหายทำภารกิจต่อไปโดยค่าสินค้า และค่าคอมมิชชันมากขึ้น เมื่อสินค้ามีมูลค่าหลักหมื่น หรือหลักแสน มิจฉาชีพอ้างว่าผู้เสียหายทำผิดพลาดไม่สามารถถอนเงินได้
จุดสังเกต
วิธีป้องกัน
1. กรณีมีการโฆษณารับสมัครงานจากบริษัท ห้างร้านที่มีชื่อเสียง ควรโทรศัพท์สอบถามรายละเอียดโดยตรง
2. หากมีการกำหนดให้ชำระเงินก่อนแล้วจะได้รับผลตอบแทน ให้พึงระลึกไว้เสมอว่าการชักชวนทำงานดังกล่าวเป็นการหลอกลวง
3. ควรศึกษารายะเอียดให้ถี่ถ้วนก่อนการสมัครงานหรือทำภารกิจใดๆ
ทั้งนี้สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีความห่วงใยประชาชนที่เปิดหรือยอมให้คนอื่นใช้บัญชีเงินฝาก บัตร หรือ e-wallet เป็นบัญชีม้า ให้รีบนำบัตรประชาชนไปปิดบัญชีกับธนาคารโดยเร็ว เนื่องจากเป็นความผิดตาม พ.ร.ก.มาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี พ.ศ.2566 ซึ่งมีอัตราโทษสูง คือ จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 300,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
สำหรับประชาชนที่ทราบว่าถูกมิจฉาชีพหลอกโอนเงินจากบัญชี ให้โทรศัพท์สายด่วนของธนาคารเพื่อให้ธนาคารระงับธุรกรรมไว้ชั่วคราว ภายใน 72 ชั่วโมง ตามที่ทางสมาคมธนาคารไทยแจ้งให้ทราบ
แล้วมาพบพนักงานสอบสวนเพื่อสอบสวนปากคำโดยด่วน จากนั้นทางพนักงานสอบสวนจะแจ้งให้ธนาคารระงับธุรกรรมต่อไป และเพื่อให้รู้เท่าทันภัยออนไลน์ในรูปแบบใหม่ สามารถติดตามข้อมูลการแจ้งเตือนภัยออนไลน์ได้จากเว็บไซต์ และเพจ เตือนภัยออนไลน์ หรือโทรสายด่วน 1441
ขอขอบคุณแหล่งที่มา : ฐานเศรษฐกิจ
ประธาน: คุณพูนสิทธิ์ ว่องธวัชชัย (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณเสาวณีย์ รัตนกิจ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้นเพื่อดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมโดยความเห็นชอบของสมาชิกซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินงานของสมาคมธนาคารไทย ดังนี้
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณสุธีรา ศรีไพบูลย์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสัมพันธนี อภันพันธุ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณทัฬห์ สิริโภคี (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณศุภดา รัตนพงษ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณประศาสตร์ ปิ่นกระจาย (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
ผู้ประสานงาน: คุณกฤษณี ดิศแพทย์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณดุจหทัย สมบูรณ์นิตย์ (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณวรรณนิภา ศิริภักดีชัยกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณธวัช ไทรราหู (ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสุทธิยุทธ เจนจิตมั่น
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณกิติพงศ์ มุตตามระ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณมนิษา เรืองศรี
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณอฑิศ รุจิรวัฒน์ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณอัปสร สุทธาโรจน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณพงษ์สิทธิ์ วิไลเลิศ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณมลฤดี ตีรรุ่งเรือง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณฐิติวร โชตยาภรณ์ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณจิตติ วิจิตรบรรจง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณขวัญชัย วรรณมณีโรจน์ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณชาตรี ผิวเหลืองสวัสดิ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณอรนุช นำพูลสวัสดิ์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณรุ่งรัตน์ รัตนราชชาติกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: ดร.พชรพจน์ นันทรามาศ (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: ดร.มานะ นิมิตรวานิช
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณนพชัย ตั้งสินพูลชัย (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณวรุณรัตน์ ทองงาม
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณอมราภรณ์ ศิวเสน (ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณอรอุมา อมรพันธุ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณสุบรรณชัย หลงอารีย์ (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสุนิษา เนตรสว่าง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณสมเกียรติ ปรีดามาโนช (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณนาทชนก อายุคง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: ดร.วศิน อุดมรัชตวนิชย์ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณแม้นเดือน เอี่ยมบรรณพงษ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณสัณฑ์ เถาสุวรรณ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณธีรดา ลวงระแหง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ประธาน: คุณอุษา เกาศล (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณกนกจันทร์ แสงหิรัญ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
This will close in 500 seconds
ธรรมาภิบาล(Governance) : มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี และดำเนินการกำกับดูแลได้อย่างมีประสิทธิผลในระดับคณะกรรมการ โดยกำหนดภาระและขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนในระดับการจัดการในเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
ยุทธศาสตร์ (Strategy) : บูรณาการพันธกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล เข้ากับยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจและกำหนดกรอบด้านการเงินที่ยั่งยืน โดยสนับสนุนเพื่อให้ประเทศสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างราบรื่น
This will close in 500 seconds
การบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล (ESG Risk Management) : ผนวกรวมประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ไว้ในกระบวนการบริหารความเสี่ยง
This will close in 500 seconds
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน(Financial Products) : ปรับใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางการเงิน รวมทั้งนวัตกรรมทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
This will close in 500 seconds
การสื่อสาร (Communication) : สื่อสารและประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนในการสร้างจิตสำนึกสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน (Disclosure) : พัฒนาระบบการติดตามและการรายงานที่สอดคล้องกับกรอบการกำกับดูแลของประเทศไทยและมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนในระดับสากล
This will close in 500 seconds