ปัญญาประดิษฐ์สุดล้ำจากเทคโนโลยี Large Language Model ที่ใคร ๆ ก็ใช้งานได้ฟรีอย่าง ChatGPT กำลังได้รับความนิยมทั่วโลก แต่รู้หรือไม่ว่านวัตกรรมนี้กลับเป็นปัจจัยหลักที่ทวีความรุนแรงของอาชญากรรมทางไซเบอร์เช่นกัน ไปติดตามกันเลยว่าเครื่องมือ AI แห่งยุคดิจิทัลกลายเป็นดาบสองคมที่เพิ่มความเสี่ยงให้ทุกคนสามารถตกเป็นเหยื่อของภัยออนไลน์ได้อย่างไร
Large Language Model หรือ LLM คืออะไร
Large Language Model (LLM) หรือชื่อภาษาไทยว่า โมเดลภาษาขนาดใหญ่ คือ ซอฟต์แวร์ที่เก็บรวบรวม ประมวลผล และฝึกฝนการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดมหาศาลจากอินเตอร์เน็ต จนในที่สุดก็สามารถเข้าใจความหมายและลักษณะภาษาของมนุษย์ ไปจนถึงสามารถสร้างสรรค์ข้อความและบทสนทนาเพื่อพูดคุยโต้ตอบอย่างเป็นธรรมชาติกับมนุษย์ หรือแก้ปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างถูกต้องแม่นยำ โมเดลภาษาขนาดใหญ่นี้จึงกลายเป็นรากฐานของการพัฒนาเทคโนโลยี Artificial Intelligence หรือปัญญาประดิษฐ์ (AI) ที่เฉลียวฉลาดและมีประสิทธิภาพหลายประเภทในปัจจุบัน
ตัวอย่างของ Large Language Model ที่ขณะนี้กำลังโด่งดังไปทั่วโลก คือ ChatGPT แพลตฟอร์มปัญญาประดิษฐ์รูปแบบ Text Generation จากบริษัท OpenAI ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่สามารถสร้างสรรค์ข้อความหลากหลายประเภทตามคำสั่ง (Prompt) ของผู้ใช้งาน ไม่ว่าจะเป็นการแต่งบทกลอน การแปลภาษา การเขียนโปรแกรม การแก้โจทย์ทางคณิตศาสตร์ หรือการวิเคราะห์และสรุปผลข้อมูลเชิงลึก ฯลฯ ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องแม่นยำ โดยปัจจุบัน ChatGPT เป็นปัญญาประดิษฐ์ยอดนิยมที่มีคนใช้งานทั่วโลกแล้วมากกว่า 180 ล้านคนต่อเดือน แถมยังเป็นเครื่องมืออันทรงพลังที่หลายบริษัทชั้นนำระดับโลกเลือกใช้มายกระดับการทำงานต่าง ๆ ขององค์กรให้ดียิ่งขึ้นอีกด้วย
ปัญญาประดิษฐ์ (AI) เพิ่มความรุนแรงของอาชญากรรมไซเบอร์อย่างไร
แม้ว่า Large Language Model จะมีประโยชน์ต่อการพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์ที่ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้คนและขับเคลื่อนธุรกิจให้พัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพได้ยิ่งกว่าเดิม แต่เทคโนโลยีโมเดลภาษาขนาดใหญ่ดังกล่าวก็เปรียบเสมือนดาบสองคมที่ส่งผลกระทบด้านลบได้ในหลายมิติเช่นกัน ซึ่งหนึ่งในนั้นคือภัยอันตรายบนโลกออนไลน์ หรือที่เรียกว่าอาชญากรรมไซเบอร์ (Cyber Crime) นั่นเอง
ความอัจฉริยะของปัญญาประดิษฐ์จากนวัตกรรม Large Language Model สามารถสร้างการหลอกลวงทางออนไลน์หลายรูปแบบได้แบบอัตโนมัติ ซึ่งส่งผลให้จำนวนอาชญากรรมทางไซเบอร์ทวีคูณเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนเพิ่มความเสี่ยงให้หลาย ๆ คนหลงกลตกเป็นเหยื่อได้ง่ายกว่าแต่ก่อน ยกตัวอย่าง เช่น ChatGPT อาจเข้าไปช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการเขียนอีเมลหรือข้อความฟิชชิง (Phishing) หลอกให้ผู้บริโภคคลิกลิงก์เว็บไซต์ที่เป็นอันตรายจนอุปกรณ์ติดไวรัส รวมถึงกรอกข้อมูลสำคัญส่วนตัวอย่างเลขบัตรประจำตัวประชาชนหรือเลขบัญชีและบัตรเครดิตให้คนร้ายทราบ โดยสถิติที่น่าตกใจพบว่า อาชญากรกำลังใช้ประโยชน์จากเครื่องมือ AI เหล่านี้เพื่อผลิตอีเมล Phishing ซึ่งมีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปี 2022 กว่า 1,265% นอกจากนี้ ทุก ๆ วันจะมีผู้คนทั่วโลกได้รับข้อความอันตรายเช่นนี้ประมาณ 3.4 พันล้านอีเมลเลยทีเดียว!
พลังของ AI ทำให้กลการหลอกลวงทางออนไลน์รูปแบบต่าง ๆ ดูเหมือนจริงจนยากที่จะจับหรือรู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมได้ก่อน ยกตัวอย่าง เช่น คนร้ายอาจป้อนคำสั่งให้ ChatGPT สร้างบทสนทนาตอบโต้ที่ลื่นไหลและเป็นธรรมชาติ หรือข้อความที่เขียนเชิงทางการอย่างมืออาชีพ เพื่อพูดคุยสร้างความเชื่อใจจนสุดท้ายก็สามารถหลอกเหยื่อได้อย่างแนบเนียน นอกจากนี้ เมื่อปี 2023 ที่ผ่านมา นักวิจัยจาก Indiana University Bloomington ประเทศสหรัฐอเมริกา ตรวจพบเครือข่ายบัญชีปลอมที่เชื่อมโยงกันจำนวนมากกว่า 1,140 บัญชีบนแพลตฟอร์ม X หรือชื่อเดิมคือ Twitter ที่ใช้ ChatGPT ในการเผยแพร่คอนเทนต์ปริมาณมหาศาลเป็นประจำอย่างต่อเนื่องเพื่อชักชวนและกระตุ้นให้คนเข้าไปลงทุนในคริปโทเคอร์เรนซี
ผลกระทบด้านลบข้อสุดท้ายของ Large Language Model คือ เทคโนโลยีนี้ถูกนำไปใช้พัฒนาปัญญาประดิษฐ์ที่ขาดการกำกับดูแลด้านจริยธรรมอย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการยอมตอบคำถามที่สุ่มเสี่ยง เช่น วิธีการสร้างอาวุธ การสร้างคอนเทนต์ที่อาจยุยงให้เกิดความรุนแรงทางการเมือง หรือเกี่ยวข้องกับสารเสพติด และการคุกคามทางเพศ เป็นต้น ซึ่งหากเป็นแพลตฟอร์มทางการอย่าง ChatGPT นั้นปัญญาประดิษฐ์จะได้รับการฝึกฝนและควบคุมไม่ให้รับฟังคำสั่งอันตรายดังกล่าว นอกจากนี้ ยังมี AI ที่ผู้พัฒนาตั้งใจสร้างขึ้นเพื่อใช้ก่ออาชญากรรมไซเบอร์โดยเฉพาะอีกด้วย ตัวอย่าง เช่น FraudGPT ที่สามารถสร้างคอนเทนต์สำหรับอีเมลฟิชชิงได้อย่างไร้ขีดจำกัดทางศีลธรรม โดย AI วายร้ายตัวนี้เผยแพร่อยู่บนเว็บไซต์ด้านมืด (Dark Web) รวมถึงส่งต่อกันผ่านทางแอปพลิเคชัน Telegram ในราคา 200 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 7,000 บาทต่อเดือน
ปัญญาประดิษฐ์ซึ่งเป็นนวัตกรรมยุคดิจิทัลที่มีศักยภาพในการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้คนทั่วโลกย่อมกลายเป็นเครื่องมืออันตรายสำหรับการหลอกลวงและฉ้อโกงได้เช่นกัน ดังนั้นนอกจากผู้บริโภคจะต้องติดตามข่าวสารให้รู้เท่าทันโลกสมัยใหม่แล้ว หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนยังต้องร่วมมือกันกำกับดูแลปัญญาประดิษฐ์ที่จะยิ่งกลายเป็นเทคโนโลยีแสนสำคัญในอนาคตอย่างใกล้ชิด
ขอขอบคุณแหล่งที่มา : BangkokBankInnohub
Chairman: Mr. Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Than Siripokee (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Paisarn Lertkowit (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Kristsanee Disapad
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Ms. Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Pongpichet Nananukool (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kitipong Muttamara (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Manisa Rueangsri
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Atis Ruchirawat Ayudhya Capital Services Co., Ltd.
Coordinator: Ms. Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Mr. Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
: Ms. Suchanee.lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: K. Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Pornvalai Kulrojseth (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: -
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Puntipa Hannoraseth (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Tippawan Bannajirakul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Waranee Wanrat (TMBThanachart Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Ms. Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Natchanok Aryukong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Vasin Udomratchatavanich Bank of Ayudhya Public Company Limited
Coordinator: Ms. Manduan Aeambunapong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Sant Thaosuwan (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. luesak Sukasem (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
ธรรมาภิบาล(Governance) : มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี และดำเนินการกำกับดูแลได้อย่างมีประสิทธิผลในระดับคณะกรรมการ โดยกำหนดภาระและขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนในระดับการจัดการในเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
ยุทธศาสตร์ (Strategy) : บูรณาการพันธกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล เข้ากับยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจและกำหนดกรอบด้านการเงินที่ยั่งยืน โดยสนับสนุนเพื่อให้ประเทศสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างราบรื่น
This will close in 500 seconds
การบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล (ESG Risk Management) : ผนวกรวมประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ไว้ในกระบวนการบริหารความเสี่ยง
This will close in 500 seconds
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน(Financial Products) : ปรับใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางการเงิน รวมทั้งนวัตกรรมทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
This will close in 500 seconds
การสื่อสาร (Communication) : สื่อสารและประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนในการสร้างจิตสำนึกสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน (Disclosure) : พัฒนาระบบการติดตามและการรายงานที่สอดคล้องกับกรอบการกำกับดูแลของประเทศไทยและมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนในระดับสากล
This will close in 500 seconds
3 เรื่องต้องรู้ก่อนเข้าร่วมมาตรการปิดจบ หนี้เรื้อรัง
**สามารถขอออกจากมาตรการได้ แต่จะไม่ได้รับสิทธิแก้หนี้ตามเงื่อนไขเดิม**
3 เรื่องต้องรู้ หากจ่ายขั้นต่ำบัตรกดเงินสดนาน ๆ
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
1. แม้ภาระต่อเดือนไม่สูง แต่ใช้เวลานาน กว่าจะหมดหนี้
2. ยอดขั้นต่ำที่จ่ายแต่ละเดือนเป็นดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้น
3. เมื่อผ่อนจบพบว่ายอดรวมที่จ่ายไปส่วนใหญ่คือ ดอกเบี้ย
อยากหมดหนี้ไว ㆍจ่ายดอกเบี้ยลดลง ㆍ ภาระต่อเดือนไม่เพิ่มจากเดิม
เลือกเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรังได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป
หมายเหตุ : ลูกหนี้ที่เข้าข่ายเป็นหนี้รื้อร้ง จะได้รับการติดต่อจากเจ้าหนี้ โดยหาก 5 ปีที่ผ่านมา ลูกหนี้จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม จะได้รับข้อเสนอปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี ดอกเบี้ยไม่เกิน 15% ต่อปี
ตัวอย่าง
ใช้บัตรกดเงินสด
วงเงินหมุนเวียน 15,000 บาท
ผ่อนขั้นต่ำ (3%) มาแล้ว 5 ปี
เหลือจ่ายเงินต้นอีก 8,700 บาท
ทางเลือกที่ 1 : ผ่อนขั้นต่ำต่อไปจนครบ ดอกเบี้ย 25% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 13 ปี 5 เดือน
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 14,000 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 29,000 บาท
ทางเลือกที่ 2 : เข้าโครงการแก้หนี้เรื้อรัง ดอกเบี้ย 15% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 3 ปี 6 เดือน (เดือนละ 260 บาท)
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 2,500 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 17,500 บาท
*ประหยัดดอกเบี้ยได้ 11,500 บาท*
หมายเหตุ: ผ่อนเดือนละ 260 บาท เท่ากับยอดการผ่อนขั้นต่ำ ณ เดือนสุดท้ายของปีที่ 5 ก่อนเข้าโครงการ
ตอบข้อสงสัย มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(1) ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
(2) ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(3) การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
เพราะหนี้บัตรเครดิตมี (1) อัตราดอกเบี้ย และ (2) เงื่อนไขการผ่อนชำระที่ทำให้ไม่เข้าข่ายหนี้เรื้อรังที่จ่ายดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้นและใช้เวลานานในการปิดจบ
ลูกหนี้บัตรเครดิตจ่ายขั้นต่ำที่ 8% ทำให้จ่ายชำระเงินต้นมากกว่าดอกเบี้ย ลูกหนี้สามารถปิดจบหนี้ได้ภายในระยะเวลาไม่นานนัก
บัตรกดเงินสดมักจ่ายขั้นต่ำที่ 3% และดอกเบี้ยส่วนใหญ่อยู่ที่ 25% ต่อปี ซึ่งจะทำให้ ตัดจ่ายดอกเบี้ย 2% และตัดเงินต้นเพียง 1%
ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
เงื่อนไขการปิดวงเงินจะช่วยให้ลูกหนี้มีวินัยทางการเงินเพิ่มขึ้นและสามารถปิดจบหนี้ได้ภายใน 5 ปี
อย่างไรก็ดี กรณีลูกหนี้ที่เข้ามาตรการฯ มีความจำเป็นฉุกเฉิน เช่น เจ็บป่วย ได้รับอุบัติเหตุ ตกงาน ผู้ให้บริการอาจพิจารณาให้สินเชื่อได้ หากลูกหนี้มีความสามารถในการชำระหนี้เพียงพอ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับนโยบายและเงื่อนไขของผู้ให้บริการแต่ละแห่ง
กรณีลูกหนี้มีบัตรกดเงินสดมากกว่า 1 ใบ สามารถเลือกเข้าโครงการแค่บางบัตร และเก็บวงเงินบัตรกดเงินสดที่เหลือไว้ก่อนได้
การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
จะมีการรายงานข้อมูลใน NCB โดยเพิ่มการรายงานประเภทของสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ "รหัส (code) 03" โดยจะไม่กระทบสถานะบัญชีลูกหนี้ที่ยังเป็น 10-ปกติ เช่นเดิมทั้งนี้ การรายงานนี้ จะช่วยให้ผู้ให้บริการทราบถึงการเข้าโครงการซึ่งสะท้อนความตั้งใจที่ดีในการแก้ปัญหาหนี้ของลูกหนี้
มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง..ช่วยเหลือลูกหนี้อย่างไร?
ถ้าได้รับแจ้งเตือนว่าเป็นลูกหนี้เรื้อรัง (severe PD) จะได้รับข้อเสนอให้สมัครเข้าร่วมมาตรการเพื่อปิดจบหนี้ ซึ่งจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมมาตรการ ดังนี้
** สำหรับลูกหนี้ที่เริ่มเรื้อรัง (general PD) ให้รีบติดต่อเจ้าหนี้หากต้องการแก้หนี้ เจ้าหนี้จะมีแนวทางให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมเป็นรายกรณี **
การแจ้งเตือนเมื่อเข้าข่ายลูกหนี้เรื้อรัง
ความถี่การแจ้งเตือนจากเจ้าหนี้
ช่องทางการแจ้งเตือน
โดยลูกหนี้เรื้อรังจะได้รับข้อเสนอแนวทางการปิดจบหนี้จากเจ้าหนี้ด้วย
หนี้เรื้อรัง คืออะโร.. แค่ไหนที่เรียกว่าเรื้อรัง?
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
ลูกหนี้เรื้อรัง 2 แบบ
1. เริ่มเป็นหนี้เรื้อรัง (general PD)
2. เป็นหนี้เรื้อรัง (severe PD)
** ธปท. กำหนดเกณฑ์รายได้ เพื่อมุ่งให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ที่เดือดร้อนที่สุดก่อน โดยพิจารณาความเรื้อรังและรายได้ที่ไม่สูงมากของลูกหนี้ **
ทวงหนี้อย่างเป็นธรรม ต้องแจ้งข้อมูลสำคัญอะไรบ้าง
เจ้าหนี้จะต้องแจ้งรายละเอียดของภาระหนี้พร้อมข้อมูลสำคัญอื่น ๆ แก่ลูกหนี้ให้ครบถ้วน เช่น
และห้ามเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ก่อน ยกเว้น ลูกหนี้ล้มละลายหรือติดต่อไม่ได้
#ResponsibleLending #แก้หนี้ยั่งยืน #เจ้าหนี้รับผิดชอบ #ลูกหนี้มีวินัย
มีหนี้กับหลายเจ้าหนี้จะทำอย่างไร?
เคยปรับโครงสร้างหนี้แล้วขอปรับซ้ำได้ไหม?
หมายเหตุ: เกณฑ์ Responsible Lending ลูกหนี้มีสิทธิขอปรับโครงสร้างหนี้ ก่อนเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง และหลังเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง โดยนับรวมการปรับโครงสร้างหนี้ก่อน 1 ม.ค. 67
สัญญาณปัญหาหนี้
สัญญาณว่าลู