‘ธุรกิจธนาคารพาณิชย์’ เป็นอีกธุรกิจที่อยู่คู่กับสังคมมาช้านาน และมีความสำคัญกับระบบเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ซึ่งในปัจจุบัน ธุรกิจธนาคารพาณิชย์มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วผ่านวิวัฒนาการสู่การเป็นดิจิทัล อยู่ในรูปแบบออนไลน์มากขึ้น อีกทั้งมีการแข่งขันที่สูงขึ้น รวมถึงกฎระเบียบที่เข้มงวดขึ้น ธนาคารพาณิชย์จึงต้องปรับเปลี่ยนตัวเองเพื่อให้แข่งขันกับคู่แข่งรายอื่นได้ แล้วรูปร่างหน้าตาของธนาคารพาณิชย์ในอนาคตจะเป็นเช่นไร และธนาคารพาณิชย์ควรทำอย่างไรเพื่อให้สามารถแข่งขันได้
รายงานล่าสุดจากเคพีเอ็มจี Future of Commercial Banking ได้สำรวจผู้บริหารระดับสูงที่มีแนวทางการทำธุรกิจที่มุ่งเน้นลูกค้าเป็นศูนย์กลางกว่า 400 รายทั่วโลก ระบุสัญญาณหลักของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ควบคู่ไปกับสิ่งที่เราเชื่อว่าจะเป็นรูปแบบธุรกิจที่โดดเด่นในอนาคต เพื่อความอยู่รอดและการเติบโต ธนาคารพาณิชย์ควรปรับตัวเองโดยการทำ Digital Transformation ซึ่งเป็นการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาเปลี่ยนแปลงกระบวนการและลักษณะการบริการทางธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการหลังบ้าน การปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าหน้าบ้าน หรือการสร้างกระบวนการใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งหมดนี้เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับลูกค้า เราลองมาดูกันว่าสัญญาณมุ่งสู่การเปลี่ยนแปลงประกอบไปด้วยปัจจัยอะไรบ้าง
สัญญาณมุ่งสู่การเปลี่ยนแปลง
ธนาคารพาณิชย์เผชิญกับสภาพแวดล้อมที่ซับซ้อนกว่าที่เคยเป็นมา การเปลี่ยนแปลงทั่วทั้งอุตสาหกรรมทำให้ธนาคารพาณิชย์ต้องทบทวนกลยุทธ์การเติบโตและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า การเพิ่มขีดความสามารถด้านดิจิทัล การเปลี่ยนแปลงรูปแบบธุรกิจไปสู่ดิจิทัล รวมถึงการแข่งขันที่เพิ่มขึ้น ทำให้ธนาคารพาณิชย์ต้องเร่งสร้างนวัตกรรมอย่างเร่งด่วน
ลูกค้า
ลูกค้าเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการผลักดันให้เกิดการแข่งขันในธุรกิจธนาคารพาณิชย์ เนื่องจากความคาดหวังในนวัตกรรมใหม่ๆ ของผลิตภัณฑ์และบริการ และความต้องการธนาคารพาณิชย์ดิจิทัลที่รวดเร็วและราบรื่น ทำให้ธนาคารพาณิชย์ต้องเร่งสร้างแพลตฟอร์มและระบบนิเวศใหม่เพื่อสามารถนำเสนอผลิตภัณฑ์ในการตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า ธนาคารพาณิชย์ที่จะประสบความสำเร็จได้จะต้องมอบประสบการณ์แบบ End-to-End ที่สมบูรณ์แบบผ่านช่องทางที่หลากหลาย
ข้อมูล ดิจิทัล และเทคโนโลยี
เทคโนโลยีที่มีศักยภาพสูงสุดจะเป็นจุดเปลี่ยนในการแข่งขันของธนาคารพาณิชย์ ไม่ว่าจะเป็นการย้ายข้อมูลขึ้นระบบคลาวด์ การนำข้อมูลลูกค้ามาวิเคราะห์และประมวลผลถึงความต้องการลูกค้า ทั้งนี้ ผู้เล่นที่เป็นสถาบันการเงินและไม่ใช่สถาบันการเงินสามารถเติบโตได้ในระบบนิเวศใหม่ที่มีการเชื่อมโยงถึงกัน โดยมีการใช้ข้อมูลร่วมกัน การใช้เทคโนโลยีใหม่นี้จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำธุรกรรม และเป็นการเพิ่มศักยภาพในการใช้ข้อมูล รวมถึงเพิ่มความปลอดภัยและความโปร่งใสอีกด้วย
ความเชื่อมั่น
สิ่งสำคัญอีกสิ่งในการดำเนินธุรกิจธนาคารพาณิชย์ คือการสร้างความเชื่อมั่นและสร้างคุณค่าให้กับลูกค้า เนื่องจากในปัจจุบันที่เทคโนโลยีเข้าถึง ผู้บริโภคสามารถรับรู้ข่าวสารได้อย่างไม่จำกัด และมีทางเลือกเพิ่มขึ้น อีกทั้งยังมีแนวโน้มที่จะสรรหาและตอบสนองความต้องการของตนมากขึ้น ฉะนั้นธนาคารพาณิชย์จึงต้องเพิ่มความเชื่อมั่นเพื่อให้ลูกค้ามาใช้บริการ โดยการพัฒนารูปแบบการดำเนินธุรกิจและศักยภาพในทุกด้าน ทั้งในด้านทรัพยากรบุคคล กระบวนการทำงาน ผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีเพื่อสร้างความแตกต่าง จำเป็นต้องรักษากฎระเบียบและอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ที่หน่วยงานทางการกำกับดูแลเพื่อเพิ่มความไว้วางใจให้กับลูกค้า สร้างชื่อเสียงให้ธุรกิจ รวมถึงเพิ่มการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน
ระบบนิเวศธนาคารพาณิชย์รูปแบบใหม่
คำว่า ‘Ecosystem’ ได้ถูกกล่าวถึงในแวดวงธุรกิจธนาคารพาณิชย์ นั่นก็คือระบบนิเวศที่ต้องทำงานร่วมกับผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาด้านต่างๆ เพื่อนำไปสู่นวัตกรรมใหม่ๆ โดยอาศัยเทคโนโลยีดิจิทัลในการเพิ่มมูลค่าของสินค้าและบริการ รวมถึงการส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการที่ทันสมัย อำนวยความสะดวกสบาย จากอดีตที่ระบบไอทีเป็นแบบปิดหรือที่เรียกว่า On-Premise สู่ระบบนิเวศใหม่แบบเปิดหรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ On-Cloud ซึ่งเป็นการให้บริการครอบคลุมไปจนถึงการปล่อยเช่าพื้นที่ในการเก็บข้อมูล และใช้ข้อมูลนั้นในการประมวลผลรวมถึงวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ธนาคารพาณิชย์ชั้นนำต่างตระหนักถึงศักยภาพอันมหาศาลของคลาวด์ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และ Application Programming Interface (API) ซึ่งจะทำให้การเชื่อมต่อระหว่างระบบแต่ละระบบเข้าถึงกันได้โดยอัตโนมัติ ทำให้ข้อมูลต่างๆ สามารถอัปเดตกันได้ทันที
รูปแบบธุรกิจธนาคารพาณิชย์ในอนาคต
บทสรุป
สิ่งที่ธนาคารพาณิชย์ต้องลงมือทำ เพื่อปรับตัวให้ทันกับอุตสาหกรรมการเงินการลงทุน พฤติกรรมของลูกค้า และเกณฑ์การกำกับดูแลที่เปลี่ยนแปลงไปในอนาคต คือ การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างต่อเนื่อง การพัฒนารูปแบบการดำเนินธุรกิจและบริการผ่านแพลตฟอร์มที่อำนวยความสะดวกให้ลูกค้าเข้าถึงข้อมูลของตนได้ง่ายขึ้น เพื่อให้ธนาคารพาณิชย์เองสามารถใช้ข้อมูลดังกล่าวในการวิเคราะห์และสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ตอบโจทย์ลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการพัฒนาโครงสร้างองค์กรให้มีความยืดหยุ่น และพร้อมตอบสนองต่อทุกการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและระบบนิเวศธุรกิจการเงิน
ขอขอบคุณแหล่งที่มา : THE STANDARD
Chairman: Mr. Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Than Siripokee (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Paisarn Lertkowit (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Kristsanee Disapad
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Ms. Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Pongpichet Nananukool (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kitipong Muttamara (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Manisa Rueangsri
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Atis Ruchirawat Ayudhya Capital Services Co., Ltd.
Coordinator: Ms. Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Mr. Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
: Ms. Suchanee.lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: K. Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Pornvalai Kulrojseth (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: -
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Puntipa Hannoraseth (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Tippawan Bannajirakul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Waranee Wanrat (TMBThanachart Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Ms. Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Natchanok Aryukong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Vasin Udomratchatavanich Bank of Ayudhya Public Company Limited
Coordinator: Ms. Manduan Aeambunapong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Sant Thaosuwan (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. luesak Sukasem (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
ธรรมาภิบาล(Governance) : มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี และดำเนินการกำกับดูแลได้อย่างมีประสิทธิผลในระดับคณะกรรมการ โดยกำหนดภาระและขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนในระดับการจัดการในเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
ยุทธศาสตร์ (Strategy) : บูรณาการพันธกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล เข้ากับยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจและกำหนดกรอบด้านการเงินที่ยั่งยืน โดยสนับสนุนเพื่อให้ประเทศสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างราบรื่น
This will close in 500 seconds
การบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล (ESG Risk Management) : ผนวกรวมประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ไว้ในกระบวนการบริหารความเสี่ยง
This will close in 500 seconds
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน(Financial Products) : ปรับใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางการเงิน รวมทั้งนวัตกรรมทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
This will close in 500 seconds
การสื่อสาร (Communication) : สื่อสารและประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนในการสร้างจิตสำนึกสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน (Disclosure) : พัฒนาระบบการติดตามและการรายงานที่สอดคล้องกับกรอบการกำกับดูแลของประเทศไทยและมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนในระดับสากล
This will close in 500 seconds
ตัวอย่าง
ใช้บัตรกดเงินสด
วงเงินหมุนเวียน 15,000 บาท
ผ่อนขั้นต่ำ (3%) มาแล้ว 5 ปี
เหลือจ่ายเงินต้นอีก 8,700 บาท
ทางเลือกที่ 1 : ผ่อนขั้นต่ำต่อไปจนครบ ดอกเบี้ย 25% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 13 ปี 5 เดือน
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 14,000 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 29,000 บาท
ทางเลือกที่ 2 : เข้าโครงการแก้หนี้เรื้อรัง ดอกเบี้ย 15% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 3 ปี 6 เดือน (เดือนละ 260 บาท)
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 2,500 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 17,500 บาท
*ประหยัดดอกเบี้ยได้ 11,500 บาท*
หมายเหตุ: ผ่อนเดือนละ 260 บาท เท่ากับยอดการผ่อนขั้นต่ำ ณ เดือนสุดท้ายของปีที่ 5 ก่อนเข้าโครงการ
3 เรื่องต้องรู้ หากจ่ายขั้นต่ำบัตรกดเงินสดนาน ๆ
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
1. แม้ภาระต่อเดือนไม่สูง แต่ใช้เวลานาน กว่าจะหมดหนี้
2. ยอดขั้นต่ำที่จ่ายแต่ละเดือนเป็นดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้น
3. เมื่อผ่อนจบพบว่ายอดรวมที่จ่ายไปส่วนใหญ่คือ ดอกเบี้ย
อยากหมดหนี้ไว ㆍจ่ายดอกเบี้ยลดลง ㆍ ภาระต่อเดือนไม่เพิ่มจากเดิม
เลือกเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรังได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป
หมายเหตุ : ลูกหนี้ที่เข้าข่ายเป็นหนี้รื้อร้ง จะได้รับการติดต่อจากเจ้าหนี้ โดยหาก 5 ปีที่ผ่านมา ลูกหนี้จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม จะได้รับข้อเสนอปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี ดอกเบี้ยไม่เกิน 15% ต่อปี
การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
จะมีการรายงานข้อมูลใน NCB โดยเพิ่มการรายงานประเภทของสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ "รหัส (code) 03" โดยจะไม่กระทบสถานะบัญชีลูกหนี้ที่ยังเป็น 10-ปกติ เช่นเดิมทั้งนี้ การรายงานนี้ จะช่วยให้ผู้ให้บริการทราบถึงการเข้าโครงการซึ่งสะท้อนความตั้งใจที่ดีในการแก้ปัญหาหนี้ของลูกหนี้
ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
เงื่อนไขการปิดวงเงินจะช่วยให้ลูกหนี้มีวินัยทางการเงินเพิ่มขึ้นและสามารถปิดจบหนี้ได้ภายใน 5 ปี
อย่างไรก็ดี กรณีลูกหนี้ที่เข้ามาตรการฯ มีความจำเป็นฉุกเฉิน เช่น เจ็บป่วย ได้รับอุบัติเหตุ ตกงาน ผู้ให้บริการอาจพิจารณาให้สินเชื่อได้ หากลูกหนี้มีความสามารถในการชำระหนี้เพียงพอ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับนโยบายและเงื่อนไขของผู้ให้บริการแต่ละแห่ง
กรณีลูกหนี้มีบัตรกดเงินสดมากกว่า 1 ใบ สามารถเลือกเข้าโครงการแค่บางบัตร และเก็บวงเงินบัตรกดเงินสดที่เหลือไว้ก่อนได้
ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
เพราะหนี้บัตรเครดิตมี (1) อัตราดอกเบี้ย และ (2) เงื่อนไขการผ่อนชำระที่ทำให้ไม่เข้าข่ายหนี้เรื้อรังที่จ่ายดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้นและใช้เวลานานในการปิดจบ
ลูกหนี้บัตรเครดิตจ่ายขั้นต่ำที่ 8% ทำให้จ่ายชำระเงินต้นมากกว่าดอกเบี้ย ลูกหนี้สามารถปิดจบหนี้ได้ภายในระยะเวลาไม่นานนัก
บัตรกดเงินสดมักจ่ายขั้นต่ำที่ 3% และดอกเบี้ยส่วนใหญ่อยู่ที่ 25% ต่อปี ซึ่งจะทำให้ ตัดจ่ายดอกเบี้ย 2% และตัดเงินต้นเพียง 1%
ตอบข้อสงสัย มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(1) ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
(2) ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(3) การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
3 เรื่องต้องรู้ก่อนเข้าร่วมมาตรการปิดจบ หนี้เรื้อรัง
**สามารถขอออกจากมาตรการได้ แต่จะไม่ได้รับสิทธิแก้หนี้ตามเงื่อนไขเดิม**
มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง..ช่วยเหลือลูกหนี้อย่างไร?
ถ้าได้รับแจ้งเตือนว่าเป็นลูกหนี้เรื้อรัง (severe PD) จะได้รับข้อเสนอให้สมัครเข้าร่วมมาตรการเพื่อปิดจบหนี้ ซึ่งจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมมาตรการ ดังนี้
** สำหรับลูกหนี้ที่เริ่มเรื้อรัง (general PD) ให้รีบติดต่อเจ้าหนี้หากต้องการแก้หนี้ เจ้าหนี้จะมีแนวทางให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมเป็นรายกรณี **
การแจ้งเตือนเมื่อเข้าข่ายลูกหนี้เรื้อรัง
ความถี่การแจ้งเตือนจากเจ้าหนี้
ช่องทางการแจ้งเตือน
โดยลูกหนี้เรื้อรังจะได้รับข้อเสนอแนวทางการปิดจบหนี้จากเจ้าหนี้ด้วย
หนี้เรื้อรัง คืออะโร.. แค่ไหนที่เรียกว่าเรื้อรัง?
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
ลูกหนี้เรื้อรัง 2 แบบ
1. เริ่มเป็นหนี้เรื้อรัง (general PD)
2. เป็นหนี้เรื้อรัง (severe PD)
** ธปท. กำหนดเกณฑ์รายได้ เพื่อมุ่งให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ที่เดือดร้อนที่สุดก่อน โดยพิจารณาความเรื้อรังและรายได้ที่ไม่สูงมากของลูกหนี้ **
ทวงหนี้อย่างเป็นธรรม ต้องแจ้งข้อมูลสำคัญอะไรบ้าง
เจ้าหนี้จะต้องแจ้งรายละเอียดของภาระหนี้พร้อมข้อมูลสำคัญอื่น ๆ แก่ลูกหนี้ให้ครบถ้วน เช่น
และห้ามเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ก่อน ยกเว้น ลูกหนี้ล้มละลายหรือติดต่อไม่ได้
#ResponsibleLending #แก้หนี้ยั่งยืน #เจ้าหนี้รับผิดชอบ #ลูกหนี้มีวินัย
มีหนี้กับหลายเจ้าหนี้จะทำอย่างไร?
เคยปรับโครงสร้างหนี้แล้วขอปรับซ้ำได้ไหม?