เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) เปิดเผยว่า กระทรวงชี้แจงกรณีประชาชนกังวลหลังมีมาตรการบังคับใช้ชื่อบัญชีต้องตรงกับชื่อเบอร์โมบายแบงกิ้ง ร่วมกับ กสทช. ปปง. และสมาคมธนาคารไทย โดยยืนยันว่ามาตรการดังกล่าว จัดทำเพื่อปิดกั้นซิมผี-บัญชีม้า และตัดวงจรแก๊งคอลเซ็นเตอร์ ซึ่งกระทรวงดำเนินแนวทางกวาดล้างบัญชีม้ามาอย่างต่อเนื่อง แนวทางนี้ก็เป็นหนึ่งในสิ่งที่ต้องทำ ซึ่งความกังวลของพี่น้องประชาชนในเรื่องซิมการ์ดที่จะถูกปิดกั้นและไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ ขอยืนยันว่าช่วงนี้ประชาชนยังสามารถใช้โมบายแบงกิ้งได้ตามปกติจนถึงสิ้นเดือนตุลาคมนี้ แต่ในระหว่างนี้ให้ประชาชนไปยืนยันตัวตนที่ผู้ให้บริการโทรคมนาคมที่ใช้บริการอยู่ซึ่งมาตรการดังกล่าวมีข้อยกเว้น 4 กลุ่ม คือ 1.เป็นบุคคลในครอบครัวเดียวกัน 2.เป็นผู้อนุบาลตามคำสั่งศาล หรือผู้ที่ดูแลคนไร้ความสามารถ 3.เป็นนิติบุคคลที่มีความจำเป็นต้องใช้ซิมเป็นจำนวนมาก และ 4.เป็นกลุ่มที่ธนาคารเห็นว่ามีความจำเป็นต้องใช้ชื่อที่ไม่ตรงกัน
“การขายบัญชีธนาคารไม่ว่าจะในรูปแบบใด ถือว่าผิดกฎหมายอาญา ตามกฎหมายจำคุกถึง 3 ปี จึงอยากให้พี่น้องประชาชนตระหนักถึงว่า การกระทำเหล่านี้มีความผิด โดยสิ่งที่กำลังทำอยู่เป็นการจัดระบบ เพื่อให้เห็นตัวผู้กระทำความผิดได้ง่ายขึ้น จึงอยากให้ประชาชนเห็นความสำคัญ ว่ายังมีคนที่ทำร้ายประชาชนด้วยกันอยู่ หากให้ความร่วมมือกัน จะทำให้เราสามารถจับคนทำบัญชีม้า หรือกลุ่มผู้ขายบัญชี เป็นส่วนเกี่ยวเนื่องกับการทำร้ายประชาชนด้วยกัน เกิดกระบวนการจับกุมผู้ขายบัญชีม้าได้มากขึ้น” นายประเสริฐกล่าว
พล.ต.ต.เอกรักษ์ ลิ้มสังกาศ รองเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.) กล่าวว่า ขั้นตอนการตรวจสอบได้เริ่มขึ้นตั้งแต่วันที่ 27 พฤษภาคมที่ผ่านมา โดยจะมีการตรวจสอบทั้งหมด 106 ล้านหมายเลข ซึ่งจะต้องตรวจสอบให้แล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคม ระยะเวลาดำเนินการ 120 วัน เบื้องต้น คาดว่า มีประมาณ 30 ล้านบัญชี ที่เข้าข่ายเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ชื่อบัญชีและหมายเลขโทรศัพท์ ที่ผูกกับโมบายแบงกิ้งไม่ตรงกัน
โดยกลุ่มแรกที่จะถูกตรวจสอบ คือ กลุ่มที่มีการเปิดบัญชีในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา จากนั้นจะทยอยตรวจสอบต่อเนื่อง โดยยืนยันว่าการดำเนินการภายใน 120 วัน ไม่ได้เป็นระยะเวลาที่ล่าช้าเกินไป แม้เริ่มมีข้อมูลออกมาแล้วว่า กลุ่มมิจฉาชีพหรือคอลเซ็นเตอร์ ออกโปรโมชั่นในการรับซื้อซิมที่ผูกกับหมายเลขโทรศัพท์ที่ถูกต้องในราคาที่สูงขึ้น เนื่องจากการตรวจสอบหมายเลขโทรศัพท์จำนวนกว่า 106 ล้านหมายเลข เท่ากับต้องดำเนินการตรวจสอบให้ได้จำนวน 580,000 หมายเลขต่อวัน ซึ่งถือว่าเป็นตัวเลขที่ไม่น้อย และใช้ศักยภาพในกระบวนการตรวจสอบเต็มที่แล้ว
พล.ต.ต.เอกรักษ์กล่าวว่า หากเจ้าหน้าที่ตรวจสอบแล้ว พบว่า ข้อมูลไม่ตรงกัน ทางธนาคารจะมีการแจ้งผ่านแอพพลิเคชั่นโมบายแบงกิ้งเท่านั้น เพื่อให้ดำเนินการยืนยันตัวตนตามขั้นตอนต่อไป โดยเน้นย้ำว่า เจ้าหน้าที่จะไม่มีการส่งข้อความผ่านเอสเอ็มเอส หรือโทรติดต่อกับผู้ใช้บริการตามหมายเลขโทรศัพท์โดยเด็ดขาด หากมีการติดต่อในลักษณะประสานข้อมูลยืนยันตัวตนให้ประชาชนรู้ตัวในทันทีว่า เป็นมิจฉาชีพอย่างแน่นอน โดยประชาชนที่ต้องการตรวจสอบเบื้องต้นว่า ชื่อบัญชีกับชื่อเบอร์โมบายแบงกิ้งตรงกันหรือไม่ สามารถกดตรวจสอบผ่านหมายเลข 179 ตามด้วยเลขบัตรประจำตัวประชาชน และกด # แล้วโทรออกได้เลย หากชื่อตรงกันแล้วก็ไม่จำเป็นต้องดำเนินการใดๆ เพิ่มเติมอีก
สำหรับกรณีประชาชนที่มีภารกิจอยู่ต่างประเทศ ไม่สามารถดำเนินการได้ในช่วงนี้ ก็สามารถมาดำเนินการภายหลังได้ แต่กรณีที่พักอาศัยอยู่ต่างประเทศถาวร สามารถส่งผู้แทนที่ได้รับการมอบอำนาจมาส่งเอกสารที่ธนาคาร เพื่อบอกเหตุผลและความจำเป็นได้ แต่ไม่มีข้อยกเว้นสำหรับกลุ่มแรงงานต่างด้าว โดยจำเป็นต้องยืนยันตัวตนและทำให้ชื่อบัญชีและหมายเลขโทรศัพท์โมบายแบงกิ้งเป็นชื่อที่ตรงกันเท่านั้น นอกจากนี้ ความกังวลการรั่วไหลของข้อมูลส่วนบุคคลในขั้นตอนตรวจสอบนั้น ในกระบวนการมีเพียง 3 ฝ่ายที่สามารถเข้าถึงข้อมูลของประชาชน ได้แก่ ผู้ให้บริการเครือข่ายมือถือ กสทช. และธนาคารเท่านั้น การนำส่งข้อมูลเป็นการเข้ารหัส 2 ชั้น ปปง. ยังไม่สามารถถอดรหัสและเข้าถึงข้อมูลด้วยซ้ำ รวมถึงมีการทดสอบระบบที่ต้องปลอดภัย 100% แน่นอน จึงจะดำเนินการตรวจสอบต่อไป จึงอยากให้มั่นใจในแนวทางดำเนินงานที่จัดทำแล้ว
นายสุทธิศักดิ์ ตันตะโยธิน รองเลขาธิการสายงานกิจการโทรคมนาคม คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) กล่าวว่า การอัพเดตข้อมูลของประชาชนกับผู้ใช้บริการเครือข่ายมือถือ และธนาคารนั้น จะต้องสามารถใช้สิทธิและโปรโมชั่นตามเดิมได้ โดยไม่ต้องเพิ่มค่าใช้จ่ายใดๆ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ไม่กระทบสิทธิเดิมของผู้บริโภคอย่างแน่นอน โดยหลังจากนี้จะเรียกผู้ให้บริการทุกรายมาทำความเข้าใจร่วมกัน
นายพงษ์สิทธิ์ ชัยฉัตรพรสุข ประธานผู้บริหาร Legal, Compliance & Finance crime ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ผู้แทนสมาคมธนาคารไทย กล่าวว่า จากข้อมูลพบว่า มีบางบุคคล ที่มีการเปิดบัญชีมากถึง 400 บัญชีในชื่อเดียวกัน ทางสมาคมธนาคารไทย จะเข้าไปตรวจสอบและหารือกับธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ซึ่งอาจต้องเรียกเจ้าของบัญชีเข้ามาชี้แจงถึงเหตุผลและความจำเป็นที่ต้องเปิดบัญชีเป็นจำนวนมากแบบนี้ ส่วนในระยะถัดไป เงื่อนไขการเปิดบัญชีใหม่ เพื่อป้องกันการกระทำผิด ธนาคารแห่งประเทศไทย จะมีการออกมาตรการข้อกำหนดการเปิดบัญชีใหม่ ภายในเดือนมิถุนายนนี้
ทั้งนี้ กรณีหากประชาชนพบปัญหาการดำเนินงานภายใต้มาตรการดังกล่าว สามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนไปยัง กสทช. ได้ที่สายด่วน 1200
ขอขอบคุณแหล่งที่มา : มติชน
Chairman: Mr. Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Than Siripokee (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Paisarn Lertkowit (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Kristsanee Disapad
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Ms. Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Pongpichet Nananukool (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kitipong Muttamara (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Manisa Rueangsri
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Atis Ruchirawat Ayudhya Capital Services Co., Ltd.
Coordinator: Ms. Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Mr. Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
: Ms. Suchanee.lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: K. Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Pornvalai Kulrojseth (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: -
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Puntipa Hannoraseth (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Tippawan Bannajirakul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Waranee Wanrat (TMBThanachart Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Ms. Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Natchanok Aryukong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Vasin Udomratchatavanich Bank of Ayudhya Public Company Limited
Coordinator: Ms. Manduan Aeambunapong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Sant Thaosuwan (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. luesak Sukasem (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
ธรรมาภิบาล(Governance) : มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี และดำเนินการกำกับดูแลได้อย่างมีประสิทธิผลในระดับคณะกรรมการ โดยกำหนดภาระและขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนในระดับการจัดการในเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
ยุทธศาสตร์ (Strategy) : บูรณาการพันธกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล เข้ากับยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจและกำหนดกรอบด้านการเงินที่ยั่งยืน โดยสนับสนุนเพื่อให้ประเทศสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างราบรื่น
This will close in 500 seconds
การบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล (ESG Risk Management) : ผนวกรวมประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ไว้ในกระบวนการบริหารความเสี่ยง
This will close in 500 seconds
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน(Financial Products) : ปรับใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางการเงิน รวมทั้งนวัตกรรมทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
This will close in 500 seconds
การสื่อสาร (Communication) : สื่อสารและประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนในการสร้างจิตสำนึกสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน (Disclosure) : พัฒนาระบบการติดตามและการรายงานที่สอดคล้องกับกรอบการกำกับดูแลของประเทศไทยและมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนในระดับสากล
This will close in 500 seconds
ตัวอย่าง
ใช้บัตรกดเงินสด
วงเงินหมุนเวียน 15,000 บาท
ผ่อนขั้นต่ำ (3%) มาแล้ว 5 ปี
เหลือจ่ายเงินต้นอีก 8,700 บาท
ทางเลือกที่ 1 : ผ่อนขั้นต่ำต่อไปจนครบ ดอกเบี้ย 25% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 13 ปี 5 เดือน
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 14,000 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 29,000 บาท
ทางเลือกที่ 2 : เข้าโครงการแก้หนี้เรื้อรัง ดอกเบี้ย 15% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 3 ปี 6 เดือน (เดือนละ 260 บาท)
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 2,500 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 17,500 บาท
*ประหยัดดอกเบี้ยได้ 11,500 บาท*
หมายเหตุ: ผ่อนเดือนละ 260 บาท เท่ากับยอดการผ่อนขั้นต่ำ ณ เดือนสุดท้ายของปีที่ 5 ก่อนเข้าโครงการ
3 เรื่องต้องรู้ หากจ่ายขั้นต่ำบัตรกดเงินสดนาน ๆ
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
1. แม้ภาระต่อเดือนไม่สูง แต่ใช้เวลานาน กว่าจะหมดหนี้
2. ยอดขั้นต่ำที่จ่ายแต่ละเดือนเป็นดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้น
3. เมื่อผ่อนจบพบว่ายอดรวมที่จ่ายไปส่วนใหญ่คือ ดอกเบี้ย
อยากหมดหนี้ไว ㆍจ่ายดอกเบี้ยลดลง ㆍ ภาระต่อเดือนไม่เพิ่มจากเดิม
เลือกเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรังได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป
หมายเหตุ : ลูกหนี้ที่เข้าข่ายเป็นหนี้รื้อร้ง จะได้รับการติดต่อจากเจ้าหนี้ โดยหาก 5 ปีที่ผ่านมา ลูกหนี้จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม จะได้รับข้อเสนอปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี ดอกเบี้ยไม่เกิน 15% ต่อปี
การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
จะมีการรายงานข้อมูลใน NCB โดยเพิ่มการรายงานประเภทของสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ "รหัส (code) 03" โดยจะไม่กระทบสถานะบัญชีลูกหนี้ที่ยังเป็น 10-ปกติ เช่นเดิมทั้งนี้ การรายงานนี้ จะช่วยให้ผู้ให้บริการทราบถึงการเข้าโครงการซึ่งสะท้อนความตั้งใจที่ดีในการแก้ปัญหาหนี้ของลูกหนี้
ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
เงื่อนไขการปิดวงเงินจะช่วยให้ลูกหนี้มีวินัยทางการเงินเพิ่มขึ้นและสามารถปิดจบหนี้ได้ภายใน 5 ปี
อย่างไรก็ดี กรณีลูกหนี้ที่เข้ามาตรการฯ มีความจำเป็นฉุกเฉิน เช่น เจ็บป่วย ได้รับอุบัติเหตุ ตกงาน ผู้ให้บริการอาจพิจารณาให้สินเชื่อได้ หากลูกหนี้มีความสามารถในการชำระหนี้เพียงพอ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับนโยบายและเงื่อนไขของผู้ให้บริการแต่ละแห่ง
กรณีลูกหนี้มีบัตรกดเงินสดมากกว่า 1 ใบ สามารถเลือกเข้าโครงการแค่บางบัตร และเก็บวงเงินบัตรกดเงินสดที่เหลือไว้ก่อนได้
ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
เพราะหนี้บัตรเครดิตมี (1) อัตราดอกเบี้ย และ (2) เงื่อนไขการผ่อนชำระที่ทำให้ไม่เข้าข่ายหนี้เรื้อรังที่จ่ายดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้นและใช้เวลานานในการปิดจบ
ลูกหนี้บัตรเครดิตจ่ายขั้นต่ำที่ 8% ทำให้จ่ายชำระเงินต้นมากกว่าดอกเบี้ย ลูกหนี้สามารถปิดจบหนี้ได้ภายในระยะเวลาไม่นานนัก
บัตรกดเงินสดมักจ่ายขั้นต่ำที่ 3% และดอกเบี้ยส่วนใหญ่อยู่ที่ 25% ต่อปี ซึ่งจะทำให้ ตัดจ่ายดอกเบี้ย 2% และตัดเงินต้นเพียง 1%
ตอบข้อสงสัย มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(1) ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
(2) ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(3) การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
3 เรื่องต้องรู้ก่อนเข้าร่วมมาตรการปิดจบ หนี้เรื้อรัง
**สามารถขอออกจากมาตรการได้ แต่จะไม่ได้รับสิทธิแก้หนี้ตามเงื่อนไขเดิม**
มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง..ช่วยเหลือลูกหนี้อย่างไร?
ถ้าได้รับแจ้งเตือนว่าเป็นลูกหนี้เรื้อรัง (severe PD) จะได้รับข้อเสนอให้สมัครเข้าร่วมมาตรการเพื่อปิดจบหนี้ ซึ่งจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมมาตรการ ดังนี้
** สำหรับลูกหนี้ที่เริ่มเรื้อรัง (general PD) ให้รีบติดต่อเจ้าหนี้หากต้องการแก้หนี้ เจ้าหนี้จะมีแนวทางให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมเป็นรายกรณี **
การแจ้งเตือนเมื่อเข้าข่ายลูกหนี้เรื้อรัง
ความถี่การแจ้งเตือนจากเจ้าหนี้
ช่องทางการแจ้งเตือน
โดยลูกหนี้เรื้อรังจะได้รับข้อเสนอแนวทางการปิดจบหนี้จากเจ้าหนี้ด้วย
หนี้เรื้อรัง คืออะโร.. แค่ไหนที่เรียกว่าเรื้อรัง?
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
ลูกหนี้เรื้อรัง 2 แบบ
1. เริ่มเป็นหนี้เรื้อรัง (general PD)
2. เป็นหนี้เรื้อรัง (severe PD)
** ธปท. กำหนดเกณฑ์รายได้ เพื่อมุ่งให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ที่เดือดร้อนที่สุดก่อน โดยพิจารณาความเรื้อรังและรายได้ที่ไม่สูงมากของลูกหนี้ **
ทวงหนี้อย่างเป็นธรรม ต้องแจ้งข้อมูลสำคัญอะไรบ้าง
เจ้าหนี้จะต้องแจ้งรายละเอียดของภาระหนี้พร้อมข้อมูลสำคัญอื่น ๆ แก่ลูกหนี้ให้ครบถ้วน เช่น
และห้ามเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ก่อน ยกเว้น ลูกหนี้ล้มละลายหรือติดต่อไม่ได้
#ResponsibleLending #แก้หนี้ยั่งยืน #เจ้าหนี้รับผิดชอบ #ลูกหนี้มีวินัย
มีหนี้กับหลายเจ้าหนี้จะทำอย่างไร?
เคยปรับโครงสร้างหนี้แล้วขอปรับซ้ำได้ไหม?
หมายเหตุ: เกณฑ์ Responsible Lending ลูกหนี้มีสิทธิขอปรับโครงสร้างหนี้ ก่อนเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง และหลังเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง โดยนับรวมการปรับโครงสร้างหนี้ก่อน 1 ม.ค. 67
สัญญาณปัญหาหนี้
สัญญาณว่าลูกหนี้กำลังมีปัญหา เช่น จ่ายขั้นต่ำ จ่ายช้า กดบัตรเงินสดมาจ่ายคืนหนี้อื่น รายได้ไม่พอรายจ่าย ถ้าเห็นสัญญาณแบบนี้ไปคุยกับเจ้าหนี้ได้เลย !!
หมายเหตุ: สนใจติดต่อ Call center และสาขาของธนาคารที่ท่านใช้บริการ