เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2567 นายทวี ปิยะพัฒนา รองประธานอาวุโสสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) พร้อมด้วย นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล รองประธานกรรมการ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ นายกอบศักดิ์ ดวงดี เลขาธิการสมาคมธนาคารไทย ประชุมคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2567 โดยมีประเด็นสำคัญหลายประการ ดังนี้
3. เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวได้แต่ยังอ่อนแอ แม้ภาคการท่องเที่ยวเป็นปัจจัยหนุนเศรษฐกิจแต่ภาคการผลิตหดตัวต่อเนื่อง ทำให้การฟื้นตัวไม่ทั่วถึง ส่วนอัตราเงินเฟ้อทั่วไปที่ติดลบต่อเนื่องเป็นสัญญาณความอ่อนแอของเศรษฐกิจในประเทศ ถือเป็นสัญญาณที่ควรติดตาม นอกจากนี้ปัญหาเชิงโครงสร้างของไทยทำให้เศรษฐกิจมีแนวโน้มชะลอตัว ขณะที่สินค้าไทยหลายรายการเริ่มไม่เป็นที่ต้องการของตลาด
ขณะที่กรอบประมาณการเศรษฐกิจ ปี 2567 ของ กกร. ดังนี้
4. ที่ประชุม กกร.สนับสนุนการดำเนินมาตรการการให้สินเชื่ออย่างรับผิดชอบและเป็นธรรม (Responsible Lending) ของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)เพราะเล็งเห็นว่าเป็นแนวทางที่สามารถช่วยแก้หนี้ให้กับประชาชนได้จริง แก้ไขปัญหาได้ตรงจุด และยั่งยืน ซึ่งจะได้มีความต่อเนื่องในการให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ตั้งแต่ช่วงโควิด-19 โดยภายใต้แนวทางมาตรการ Responsible Lending จะช่วยเหลือลูกหนี้ตั้งแต่ก่อนเป็นหนี้เสีย ระหว่างเป็นหนี้เสีย มุ่งเน้นให้ความช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางเป็นอันดับต้นๆ เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีภาระหนี้สูง และรายได้ยังไม่ฟื้นตัว ทำให้มีรายได้ไม่เพียงพอในการดำรงชีพ
โดยขอให้ ธปท.ติดตามประเมินผลกระทบของมาตรการต่อการเข้าถึงสินเชื่อด้วย เนื่องจากบางส่วนมีความจำเป็นต่อการดำรงชีพและการประกอบอาชีพ นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับการให้ความรู้ทางการเงิน สร้างวินัยทางการเงินที่ดี ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญในการวางแผนจัดการการเงินที่เหมาะสม ใช้สินเชื่อเท่าที่จำเป็นและตรงวัตถุประสงค์ ไม่ก่อหนี้เกินตัว ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาหนี้ครัวเรือนที่เป็นปัญหาเรื้อรังของประเทศได้อย่างยั่งยืน
5. เพื่อให้การแก้ปัญหาหนี้ครัวเรือนยั่งยืนต้องให้ความสำคัญกับการยกระดับรายได้ และแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างที่สั่งสมมานาน สะท้อนจากรายงานของ World Economic Forum ล่าสุดที่บ่งชี้ว่า ไทยยังทำได้ไม่ดีนักจากการจัดอันดับด้าน Future of Growth โดยจำเป็นต้องเร่งปรับปรุงความเหลื่อมล้ำ (Inclusiveness) ความยั่งยืน (Sustainability) และความยืดหยุ่น (Resilience) ที่ยังต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของโลก
ดังนั้นไทยจำเป็นต้องเร่งขจัดความแตกต่างทางรายได้ระหว่างกลุ่มต่างๆ รวมถึงลดขนาดของเศรษฐกิจนอกระบบลง และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยภาคธุรกิจจะต้องเร่งยกระดับประสิทธิภาพในการดำเนินงาน เพื่อเพิ่มศักยภาพ ตลอดจนส่งเสริมการแข่งขันอย่างเป็นธรรมกับธุรกิจขนาดเล็ก เพื่อให้ เศรษฐกิจไทย เติบโตอย่างยั่งยืนและทั่วถึง
6. กกร.มีความกังวลกับปัญหาสินค้าราคาถูกที่เข้ามาทุ่มตลาดในประเทศไทย และในตลาดอาเซียนทั้งจากสินค้าออนไลน์ (E-commerce) และการเข้ามาใช้ประโยชน์จาก Free Trade Zone เพื่อขายสินค้าในประเทศ รวมถึงการลักลอบนำเข้าสินค้าผ่านด่านศุลกากรโดยการสำแดงข้อมูลเท็จเพื่อหลีกเลี่ยงภาษี ประเด็นเหล่านี้ ทำให้สินค้าราคาถูกรวมถึงสินค้าที่ไม่มีมาตรฐานทะลักเข้าตลาดภายในประเทศ ส่งผลกระทบต่อยอดขายสินค้าของผู้ประกอบการไทยโดยเฉพาะ SMEs ที่ไม่สามารถแข่งขันด้านต้นทุนได้
ดังนั้น กกร.จึงเสนอขอให้ภาครัฐพิจารณาทบทวนข้อยกเว้นการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) สำหรับการซื้อสินค้าออนไลน์ที่ไม่เกิน 1,500 บาท เพื่อให้เกิดความยุติธรรมกับผู้ประกอบการไทย มีการทบทวนนโยบายและเงื่อนไขในการใช้สิทธิประโยชน์ใน Free Trade Zone รวมทั้งการออกมาตรการปกป้องผู้ประกอบการในประเทศ เช่น การนำมาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุนตลาด (Anti-Circumvention: AC) มาบังคับใช้ การเพิ่มความเข้มงวดการตรวจจับสินค้าที่นำเข้าผ่านด่านศุลกากร และการเร่งออกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมให้ครอบคลุม เป็นต้น
7. จากเป้าหมายของภาครัฐที่ต้องการให้มีนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้าประเทศในปี 2567 ที่จำนวน 35 ล้านคนซึ่งในเดือนมกราคมที่ผ่านมา มีนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามาในประเทศกว่า 3 ล้านคน สร้างเม็ดเงินกว่า 7 แสนล้านบาท ทำให้เกิดแรงหนุนทางเศรษฐกิจผ่านการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว
แต่อย่างไรก็ตาม กกร.มีความกังวลต่อความหนาแน่นของจำนวนนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวบางพื้นที่ เช่น ภูเก็ต จึงขอเสนอให้ภาครัฐช่วยจัดระเบียบ ช่วยส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ให้เกิดการท่องเที่ยวตามเมืองรองต่างๆ เพื่อลดความหนาแน่นและช่วยกระจายรายได้อย่างทั่วถึง รวมทั้งควรกระตุ้นนักท่องเที่ยวต่างชาติให้เกิดการใช้จ่ายต่อหัวให้มากขึ้น
8. ประเด็นข้อเสนอเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมก่อสร้างต่อการพัฒนาประเทศโดยอุตสาหกรรมก่อสร้างสามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม 6% ของ GDP ขณะเดียวกันอุตสาหกรรมก่อสร้างยังมีความสำคัญในด้านการจ้างงานที่สำคัญ และมีสัดส่วนการจ้างงานมากกว่า 2 ล้านคน แต่ปัจจุบันปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างก่อสร้างภาครัฐ ทำให้ภาคเอกชนไทยไม่สามารถแข่งขันได้เต็มศักยภาพ และหลายส่วนยังต้องได้รับการปรับปรุงให้สอดคล้องกับสถานการณ์ เช่น การอ้างอิงราคาในอดีตไม่สะท้อนต้นทุนจริง เน้นราคาต่ำ กระบวนการการจัดชั้นและการคัดเลือกยังเป็นอุปสรรคต่อการแข่งขัน การเบิกจ่ายเงินมีความล่าช้า
ดังนั้นภาคเอกชนจึงมีข้อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาการจัดจ้างงานก่อสร้างภาครัฐ ดังนี้
ทั้งนี้ กกร.ได้มีข้อเสนอเพิ่มเติมเพื่อให้การจัดซื้อจัดจ้างก่อสร้างภาครัฐ อาทิ เช่น การใช้ Local Content ภายในประเทศ หรือวัสดุที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน Made in Thailand และเครื่องหมายรับรอง Green Product โดยจะมีการรวบรวมรายละเอียดและนำเสนอรัฐบาลให้พิจารณาต่อไป
Chairman: Mr. Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Than Siripokee (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Paisarn Lertkowit (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Kristsanee Disapad
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Ms. Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Pongpichet Nananukool (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kitipong Muttamara (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Manisa Rueangsri
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Atis Ruchirawat Ayudhya Capital Services Co., Ltd.
Coordinator: Ms. Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Mr. Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
: Ms. Suchanee.lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: K. Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Pornvalai Kulrojseth (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: -
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Puntipa Hannoraseth (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Tippawan Bannajirakul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Waranee Wanrat (TMBThanachart Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Ms. Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Natchanok Aryukong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Vasin Udomratchatavanich Bank of Ayudhya Public Company Limited
Coordinator: Ms. Manduan Aeambunapong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Sant Thaosuwan (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. luesak Sukasem (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
ธรรมาภิบาล(Governance) : มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี และดำเนินการกำกับดูแลได้อย่างมีประสิทธิผลในระดับคณะกรรมการ โดยกำหนดภาระและขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนในระดับการจัดการในเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
ยุทธศาสตร์ (Strategy) : บูรณาการพันธกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล เข้ากับยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจและกำหนดกรอบด้านการเงินที่ยั่งยืน โดยสนับสนุนเพื่อให้ประเทศสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างราบรื่น
This will close in 500 seconds
การบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล (ESG Risk Management) : ผนวกรวมประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ไว้ในกระบวนการบริหารความเสี่ยง
This will close in 500 seconds
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน(Financial Products) : ปรับใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางการเงิน รวมทั้งนวัตกรรมทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
This will close in 500 seconds
การสื่อสาร (Communication) : สื่อสารและประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนในการสร้างจิตสำนึกสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน (Disclosure) : พัฒนาระบบการติดตามและการรายงานที่สอดคล้องกับกรอบการกำกับดูแลของประเทศไทยและมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนในระดับสากล
This will close in 500 seconds
3 เรื่องต้องรู้ก่อนเข้าร่วมมาตรการปิดจบ หนี้เรื้อรัง
**สามารถขอออกจากมาตรการได้ แต่จะไม่ได้รับสิทธิแก้หนี้ตามเงื่อนไขเดิม**
3 เรื่องต้องรู้ หากจ่ายขั้นต่ำบัตรกดเงินสดนาน ๆ
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
1. แม้ภาระต่อเดือนไม่สูง แต่ใช้เวลานาน กว่าจะหมดหนี้
2. ยอดขั้นต่ำที่จ่ายแต่ละเดือนเป็นดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้น
3. เมื่อผ่อนจบพบว่ายอดรวมที่จ่ายไปส่วนใหญ่คือ ดอกเบี้ย
อยากหมดหนี้ไว ㆍจ่ายดอกเบี้ยลดลง ㆍ ภาระต่อเดือนไม่เพิ่มจากเดิม
เลือกเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรังได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป
หมายเหตุ : ลูกหนี้ที่เข้าข่ายเป็นหนี้รื้อร้ง จะได้รับการติดต่อจากเจ้าหนี้ โดยหาก 5 ปีที่ผ่านมา ลูกหนี้จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม จะได้รับข้อเสนอปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี ดอกเบี้ยไม่เกิน 15% ต่อปี
ตัวอย่าง
ใช้บัตรกดเงินสด
วงเงินหมุนเวียน 15,000 บาท
ผ่อนขั้นต่ำ (3%) มาแล้ว 5 ปี
เหลือจ่ายเงินต้นอีก 8,700 บาท
ทางเลือกที่ 1 : ผ่อนขั้นต่ำต่อไปจนครบ ดอกเบี้ย 25% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 13 ปี 5 เดือน
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 14,000 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 29,000 บาท
ทางเลือกที่ 2 : เข้าโครงการแก้หนี้เรื้อรัง ดอกเบี้ย 15% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 3 ปี 6 เดือน (เดือนละ 260 บาท)
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 2,500 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 17,500 บาท
*ประหยัดดอกเบี้ยได้ 11,500 บาท*
หมายเหตุ: ผ่อนเดือนละ 260 บาท เท่ากับยอดการผ่อนขั้นต่ำ ณ เดือนสุดท้ายของปีที่ 5 ก่อนเข้าโครงการ
ตอบข้อสงสัย มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(1) ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
(2) ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(3) การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
เพราะหนี้บัตรเครดิตมี (1) อัตราดอกเบี้ย และ (2) เงื่อนไขการผ่อนชำระที่ทำให้ไม่เข้าข่ายหนี้เรื้อรังที่จ่ายดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้นและใช้เวลานานในการปิดจบ
ลูกหนี้บัตรเครดิตจ่ายขั้นต่ำที่ 8% ทำให้จ่ายชำระเงินต้นมากกว่าดอกเบี้ย ลูกหนี้สามารถปิดจบหนี้ได้ภายในระยะเวลาไม่นานนัก
บัตรกดเงินสดมักจ่ายขั้นต่ำที่ 3% และดอกเบี้ยส่วนใหญ่อยู่ที่ 25% ต่อปี ซึ่งจะทำให้ ตัดจ่ายดอกเบี้ย 2% และตัดเงินต้นเพียง 1%
ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
เงื่อนไขการปิดวงเงินจะช่วยให้ลูกหนี้มีวินัยทางการเงินเพิ่มขึ้นและสามารถปิดจบหนี้ได้ภายใน 5 ปี
อย่างไรก็ดี กรณีลูกหนี้ที่เข้ามาตรการฯ มีความจำเป็นฉุกเฉิน เช่น เจ็บป่วย ได้รับอุบัติเหตุ ตกงาน ผู้ให้บริการอาจพิจารณาให้สินเชื่อได้ หากลูกหนี้มีความสามารถในการชำระหนี้เพียงพอ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับนโยบายและเงื่อนไขของผู้ให้บริการแต่ละแห่ง
กรณีลูกหนี้มีบัตรกดเงินสดมากกว่า 1 ใบ สามารถเลือกเข้าโครงการแค่บางบัตร และเก็บวงเงินบัตรกดเงินสดที่เหลือไว้ก่อนได้
การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
จะมีการรายงานข้อมูลใน NCB โดยเพิ่มการรายงานประเภทของสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ "รหัส (code) 03" โดยจะไม่กระทบสถานะบัญชีลูกหนี้ที่ยังเป็น 10-ปกติ เช่นเดิมทั้งนี้ การรายงานนี้ จะช่วยให้ผู้ให้บริการทราบถึงการเข้าโครงการซึ่งสะท้อนความตั้งใจที่ดีในการแก้ปัญหาหนี้ของลูกหนี้
มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง..ช่วยเหลือลูกหนี้อย่างไร?
ถ้าได้รับแจ้งเตือนว่าเป็นลูกหนี้เรื้อรัง (severe PD) จะได้รับข้อเสนอให้สมัครเข้าร่วมมาตรการเพื่อปิดจบหนี้ ซึ่งจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมมาตรการ ดังนี้
** สำหรับลูกหนี้ที่เริ่มเรื้อรัง (general PD) ให้รีบติดต่อเจ้าหนี้หากต้องการแก้หนี้ เจ้าหนี้จะมีแนวทางให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมเป็นรายกรณี **
การแจ้งเตือนเมื่อเข้าข่ายลูกหนี้เรื้อรัง
ความถี่การแจ้งเตือนจากเจ้าหนี้
ช่องทางการแจ้งเตือน
โดยลูกหนี้เรื้อรังจะได้รับข้อเสนอแนวทางการปิดจบหนี้จากเจ้าหนี้ด้วย
หนี้เรื้อรัง คืออะโร.. แค่ไหนที่เรียกว่าเรื้อรัง?
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
ลูกหนี้เรื้อรัง 2 แบบ
1. เริ่มเป็นหนี้เรื้อรัง (general PD)
2. เป็นหนี้เรื้อรัง (severe PD)
** ธปท. กำหนดเกณฑ์รายได้ เพื่อมุ่งให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ที่เดือดร้อนที่สุดก่อน โดยพิจารณาความเรื้อรังและรายได้ที่ไม่สูงมากของลูกหนี้ **
ทวงหนี้อย่างเป็นธรรม ต้องแจ้งข้อมูลสำคัญอะไรบ้าง
เจ้าหนี้จะต้องแจ้งรายละเอียดของภาระหนี้พร้อมข้อมูลสำคัญอื่น ๆ แก่ลูกหนี้ให้ครบถ้วน เช่น
และห้ามเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ก่อน ยกเว้น ลูกหนี้ล้มละลายหรือติดต่อไม่ได้
#ResponsibleLending #แก้หนี้ยั่งยืน #เจ้าหนี้รับผิดชอบ #ลูกหนี้มีวินัย
มีหนี้กับหลายเจ้าหนี้จะทำอย่างไร?