คอลัมน์ : ร่วมด้วยช่วยคิด
ผู้เขียน : ดร.นครินทร์ อมเรศ รองผู้อำนวยการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
การใช้งานปัญญาประดิษฐ์ AI อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ได้อำนวยความสะดวกครอบคลุมตั้งแต่การพัฒนานวัตกรรม การศึกษาวิจัย การดำเนินธุรกิจ จนกระทั่งมาถึงการใช้งานง่าย ๆ ในชีวิตประจำวัน อาทิ การใช้งาน Generative AI ยอดนิยม ChatGPT หรือ Gemini เป็นที่ปรึกษาส่วนตัวที่จะตอบโจทย์ได้ตรงใจตามการปรับแต่ง Prompt ของเรา
ซึ่งในเมื่อผู้ใช้งานได้ประโยชน์จาก AI ขนาดนี้แล้ว มิจฉาชีพที่เฝ้าเพียรพยายามคิดมุขใหม่ ๆ มาล่อลวงพวกเราในโลกไซเบอร์จะใช้งาน AI ได้ขนาดไหน ? บทความนี้จึงถอดความและเรียบเรียงประเด็นหารือ ระหว่างตัวจริงเสียงจริงในวงการ คือ ดร.สุพจน์ เธียรวุฒิ และ รศ.ดร.ทศพล ทรรศนพรรณ
เทคโนโลยี AI กับภัยไซเบอร์
อ.สุพจน์ปูภาพว่า AI อยู่กับเราผ่าน Algorithm ที่อยู่เบื้องหลังประสบการณ์การใช้งานต่าง ๆ โดยเฉพาะ Generative AI ที่ถูกใช้งานอย่างหลากหลายในการสร้างสื่อ ซึ่งมิจฉาชีพก็นำมาใช้งาน โดยซูเปอร์สตาร์คนดังอย่าง Brad Pitt ยังถูกสวมรอย ทำให้แม่ม่ายคนหนึ่ง ถูกหลอกจากคนสวมรอยเป็นแม่ของดาราดังว่า ลูกชายอยู่ในโรงพยาบาลและต้องการเงินด่วน
ซึ่งมิจฉาชีพเองมีความเข้าใจจิตวิทยาเป็นอย่างดี เมื่อเรียนรู้ชีวิตส่วนตัวทาง Social Media ของเราจึงสามารถหลอกได้อย่างแนบเนียน ซึ่งไม่เพียงแต่เหยื่อจะอยู่ในระดับบุคคล แต่มีกรณีที่บริษัทวิศวกรในสหราชอาณาจักร ตกเป็นเหยื่อ Deepfake Scam กว่า 20 ล้านปอนด์ และมีคดีในลักษณะเดียวกันเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
อ.ทศพลรายงานผลที่พบจากการศึกษา 3 ชิ้น ตั้งแต่ 7 ปีก่อน 3 ปีก่อน และที่กำลังศึกษาในปีนี้ พบว่า ในอดีตมิจฉาชีพมีการใช้ Large Laguage Model (LLM) ใน Romance Scam โดยมุ่งปรับเปลี่ยนภาษาที่ใช้ในการสื่อสารของมิจฉาชีพให้นุ่มนวลเป็นสุภาพบุรุษ เพื่อหลอกลวงเหยื่อ ทำให้ AI ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการแปลงสาร แต่ปัจจุบันนี้พบว่า AI สามารถรับ Input ที่อ้างอิงบริบทของข้อมูลและความสนใจส่วนตัวของเหยื่อ จึงสามารถปรับแต่งเนื้อหาและรูปแบบการสื่อสารให้ตรงจริตของเหยื่อ และในอนาคตข้างหน้าอาจจะเลยเถิดไปถึงการใช้ AI สร้างโลกคู่ขนาน Multiverse ไปหลอกลวงเหยื่อได้
การใช้งาน AI ของมิจฉาชีพ
อ.สุพจน์ฉายภาพขั้นตอนการใช้งาน AI ในการหลอกลวงเหยื่อตามลำดับ คือ 1.ใช้ข้อมูลจาก Dark Webs เพื่อเล็งเป้า Social Media ของเหยื่อ 2.ติดต่อและสานสัมพันธ์ เพื่อ Build การมีส่วนร่วมของเหยื่อ ก่อนที่จะ 3.ลงมือ Hook ให้เหยื่อโอนเงินไปยังบัญชีม้า โดยเมื่อเหยื่อรู้ตัวเพื่อไม่ให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องติดตามได้ ดังนั้น แนวทางป้องกันควรมุ่งไปที่การตัดการติดต่อในขั้นที่ 2 และปิดกั้นการโอนเงินในขั้นตอนที่ 3
เทคโนโลยีที่ใช้ในแต่ละขั้นตอนมีความแตกต่างกัน อาทิ 1.ช่วงเก็บรวบรวมข้อมูล มิจฉาชีพจะวิเคราะห์พฤติกรรมออนไลน์ของเหยื่อเพื่อหาช่องทางขโมย Identity โดยทำ Web Scraping/Data Analytics/Phishing Email ดังนั้นแนวทางป้องกัน คือ การปิดกั้นข้อมูลส่วนตัวไม่ให้คนต้องสงสัยเข้าถึงได้ง่าย 2.ช่วงติดต่อและสานสัมพันธ์ มิจฉาชีพจะปลอมแปลงสถานะทางสังคม
โดยใช้ช่องทางติดต่อที่หลากหลาย ใช้ Identity Theft/Deepfake โดยใช้ Phone Call/SMS/Instant Messaging/Phishing Email/Chatbot ดังนั้น เหยื่อต้องป้องกันตัวเองด้วย Caller ID Screening/Digital ID Proofing/Deepfake Detection/Phishing Email Detection/Family Secret Code และ 3.ช่วง Hook จะใช้ Payment/Fake Web Site ผ่านการชำระเงินออนไลน์ ซึ่งเหยื่อป้องกันได้โดยแจ้งระงับบัญชีเมื่อพบพฤติกรรมต้องสงสัย
พัฒนาการขบวนการมิจฉาชีพ
อ.ทศพลแลกเปลี่ยนผลของการลงพื้นที่สำรวจตามแนวชายแดนทำให้พบว่าขบวนการมิจฉาชีพข้ามชาติมีจุดเริ่มต้นของเส้นทางการเงินจากเครือข่ายธุรกิจการพนันในเอเชียตะวันออกต่อมาเมื่อถูกปราบปรามในประเทศต้นทาง จึงแสวงหาพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อมาลงหลักปักฐาน อาทิ ประเทศที่มีความขัดแย้งภายในประเทศเพราะภาครัฐไม่สามารถเข้ามาปราบปรามได้ จึงมีการเคลื่อนย้ายมายังประเทศเพื่อนบ้านของไทย
วิธีการที่มิจฉาชีพจะหาเหยื่อในไทยจะเริ่มจากการเข้าถึงกลุ่มที่เล่นพนันออนไลน์ แล้วทำการ Matching กับกลุ่มมิจฉาชีพในเครือข่าย โดยในส่วนของไทยเองก็พบว่ามีศูนย์กลางการดำเนินการในพื้นที่ตะวันออก เพราะอยู่ใกล้สนามบินและคนในพื้นที่มีความคุ้นเคยในการทำธุรกิจกับชาวต่างชาติที่นำเงินเข้ามาลงทุนเป็นจำนวนมาก จึงไม่รู้สึกผิดสังเกตในการทำธุรกรรมกับกลุ่มทุนมิจฉาชีพที่ทำธุรกิจบังหน้า ต่างจากในภาคเหนือที่กลุ่มทุนมิจฉาชีพจะต้องเก็บตัวอย่างมิดชิดและนำเงินไปลงทุนในหลักทรัพย์มากกว่าการเปิดธุรกิจโดยตรง
ซึ่งผลการศึกษาล่าสุดที่ติดตามประเมินผลจากการปิดชายแดนไทยในช่วงที่ผ่านมาพบว่าเจ้าหน้าที่ในท้องที่ได้รับการร้องเรียนลดลงอย่างชัดเจน แต่มิจฉาชีพอาจเคลื่อนย้ายการปฏิบัติการได้ จึงต้องอาศัยการบังคับใช้กฎหมายเพื่อปราบปรามร่วมกับมาตรการต่าง ๆ อย่างเข้มงวด
ทิศทาง-แนวโน้มของมิจฉาชีพ
อ.ทศพลเล่าถึงการศึกษาเมื่อ 7 ปีก่อนที่ทำให้พบว่า การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่นำไปสู่สังคมปัจเจกชน หรือมีการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมน้อย ทำให้ความเหงาเป็นเหตุให้เหยื่อถูกหลอกลวงได้ง่าย ขณะที่การศึกษาใน 3 ปีก่อน แสดงให้เห็นว่าคนตกเป็นเหยื่อเพราะแสวงหาโอกาสทางการลงทุน เพื่อสร้างผลตอบแทน
และสำหรับการศึกษาในปัจจุบันพบว่า เส้นแบ่งระหว่างเหยื่อและมิจฉาชีพเริ่มบางลง จนทำให้คนที่เผชิญกับปัญหาทางเศรษฐกิจอาจตัดสินใจเข้าร่วมกับมิจฉาชีพได้ ดังนั้น โจทย์วิจัยในอนาคตที่อยากจะทำ คือ การติดตามวิธีการสรรหาบุคลากรของขบวนการมิจฉาชีพ ที่น่ากังวลว่า คนรุ่นใหม่ในยุค Post-modern ที่ต้องอยู่ในสังคมที่ต้องดิ้นรนเอาตัวรอด แล้วค่านิยมด้านศีลธรรมทางสังคมอ่อนแอลง อาจถูกผลักดันให้จำต้องเข้าร่วมองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ โดยเห็นว่าสำคัญกว่าเรื่องคุณธรรม
อ.สุพจน์ อธิบายแนวโน้มล่าสุดในการใช้ AI ใน Social Engineering ผ่าน Cheapfake หรือ Generative AI (LLM, Deepfake) ที่มีราคาถูกลงและอยู่ในรูปแบบแพลตฟอร์มสำเร็จรูป, RPA จาก Robotic Process Automation ที่สามารถ Automate การทำซ้ำ หรือกระบวนการที่มีกฎเกณฑ์ตายตัว ไปสู่ Agentic AI ที่ Automate การตัดสินใจ การเรียนรู้ และการปรับตัว ตลอดจนมีการใช้ AIaaS หรือ AI-as-a-Service มาเสริม Scam-as-a-Service ซึ่งเป็นแนวทางที่มีตัวกลางในการให้บริการทางเทคโนโลยีให้กับมิจฉาชีพอีกทอดหนึ่ง
มิจฉาชีพจึงสามารถปรับเป้าหมายจาก Random มาเป็น Segmentation และเจาะจงมาที่ระดับบุคคลได้ในที่สุด การปลอมแปลงตัวตนจึงเปลี่ยนจากปลอมเป็น Celeb มาสู่การเป็นเจ้าหน้าที่ภาครัฐ จนในยุคปัจจุบันที่ปลอมเป็นเพื่อนและครอบครัว และในอนาคตอาจจะเป็น Faked Persons ที่ไม่เคยมีตัวตนและไม่สามารถติดตามจับกุมได้อีกเลย
มาตรการตอบโต้จึงต้องอาศัยความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนข้อมูล โดยในการป้องกันต้องมีกฎเกณฑ์ และ Platform ในการดำเนินการอย่างเป็นระบบตั้งแต่การตรวจจับและตอบโต้ การรายงานผลการปราบปรามอาชญากรรมและกลไกการจัดการเพื่อควบคุมความเสียหายและเยียวยาผู้เสียหาย รวมถึงการสร้างความตระหนักรู้ในการป้องกันตนเอง ผ่านการรณรงค์อย่างจริงจังและเปิดให้เข้าถึงเครื่องมือในการพัฒนาองค์ความรู้และทักษะทุกช่วงวัย เพื่อให้ประชาชนได้รับองค์ความรู้และมีความพร้อมที่จะรับมือกับมิจฉาชีพได้
บทความนี้เป็นข้อคิดเห็นส่วนบุคคล ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับข้อคิดเห็นของหน่วยงานที่ผู้เขียนสังกัด
ขอขอบคุณแหล่งที่มา : ประชาชาติธุรกิจ
Chairman: Mr. Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Than Siripokee (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Paisarn Lertkowit (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Kristsanee Disapad
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Ms. Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Pongpichet Nananukool (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kitipong Muttamara (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Manisa Rueangsri
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Atis Ruchirawat Ayudhya Capital Services Co., Ltd.
Coordinator: Ms. Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Mr. Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
: Ms. Suchanee.lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: K. Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Pornvalai Kulrojseth (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: -
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Puntipa Hannoraseth (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Tippawan Bannajirakul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Waranee Wanrat (TMBThanachart Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Ms. Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Natchanok Aryukong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Vasin Udomratchatavanich Bank of Ayudhya Public Company Limited
Coordinator: Ms. Manduan Aeambunapong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Sant Thaosuwan (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. luesak Sukasem (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
ธรรมาภิบาล(Governance) : มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี และดำเนินการกำกับดูแลได้อย่างมีประสิทธิผลในระดับคณะกรรมการ โดยกำหนดภาระและขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนในระดับการจัดการในเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
ยุทธศาสตร์ (Strategy) : บูรณาการพันธกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล เข้ากับยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจและกำหนดกรอบด้านการเงินที่ยั่งยืน โดยสนับสนุนเพื่อให้ประเทศสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างราบรื่น
This will close in 500 seconds
การบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล (ESG Risk Management) : ผนวกรวมประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ไว้ในกระบวนการบริหารความเสี่ยง
This will close in 500 seconds
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน(Financial Products) : ปรับใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางการเงิน รวมทั้งนวัตกรรมทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
This will close in 500 seconds
การสื่อสาร (Communication) : สื่อสารและประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนในการสร้างจิตสำนึกสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน (Disclosure) : พัฒนาระบบการติดตามและการรายงานที่สอดคล้องกับกรอบการกำกับดูแลของประเทศไทยและมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนในระดับสากล
This will close in 500 seconds
ตัวอย่าง
ใช้บัตรกดเงินสด
วงเงินหมุนเวียน 15,000 บาท
ผ่อนขั้นต่ำ (3%) มาแล้ว 5 ปี
เหลือจ่ายเงินต้นอีก 8,700 บาท
ทางเลือกที่ 1 : ผ่อนขั้นต่ำต่อไปจนครบ ดอกเบี้ย 25% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 13 ปี 5 เดือน
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 14,000 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 29,000 บาท
ทางเลือกที่ 2 : เข้าโครงการแก้หนี้เรื้อรัง ดอกเบี้ย 15% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 3 ปี 6 เดือน (เดือนละ 260 บาท)
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 2,500 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 17,500 บาท
*ประหยัดดอกเบี้ยได้ 11,500 บาท*
หมายเหตุ: ผ่อนเดือนละ 260 บาท เท่ากับยอดการผ่อนขั้นต่ำ ณ เดือนสุดท้ายของปีที่ 5 ก่อนเข้าโครงการ
3 เรื่องต้องรู้ก่อนเข้าร่วมมาตรการปิดจบ หนี้เรื้อรัง
**สามารถขอออกจากมาตรการได้ แต่จะไม่ได้รับสิทธิแก้หนี้ตามเงื่อนไขเดิม**
ตอบข้อสงสัย มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(1) ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
(2) ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(3) การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
เพราะหนี้บัตรเครดิตมี (1) อัตราดอกเบี้ย และ (2) เงื่อนไขการผ่อนชำระที่ทำให้ไม่เข้าข่ายหนี้เรื้อรังที่จ่ายดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้นและใช้เวลานานในการปิดจบ
ลูกหนี้บัตรเครดิตจ่ายขั้นต่ำที่ 8% ทำให้จ่ายชำระเงินต้นมากกว่าดอกเบี้ย ลูกหนี้สามารถปิดจบหนี้ได้ภายในระยะเวลาไม่นานนัก
บัตรกดเงินสดมักจ่ายขั้นต่ำที่ 3% และดอกเบี้ยส่วนใหญ่อยู่ที่ 25% ต่อปี ซึ่งจะทำให้ ตัดจ่ายดอกเบี้ย 2% และตัดเงินต้นเพียง 1%
การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
จะมีการรายงานข้อมูลใน NCB โดยเพิ่มการรายงานประเภทของสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ "รหัส (code) 03" โดยจะไม่กระทบสถานะบัญชีลูกหนี้ที่ยังเป็น 10-ปกติ เช่นเดิมทั้งนี้ การรายงานนี้ จะช่วยให้ผู้ให้บริการทราบถึงการเข้าโครงการซึ่งสะท้อนความตั้งใจที่ดีในการแก้ปัญหาหนี้ของลูกหนี้
3 เรื่องต้องรู้ หากจ่ายขั้นต่ำบัตรกดเงินสดนาน ๆ
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
1. แม้ภาระต่อเดือนไม่สูง แต่ใช้เวลานาน กว่าจะหมดหนี้
2. ยอดขั้นต่ำที่จ่ายแต่ละเดือนเป็นดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้น
3. เมื่อผ่อนจบพบว่ายอดรวมที่จ่ายไปส่วนใหญ่คือ ดอกเบี้ย
อยากหมดหนี้ไว ㆍจ่ายดอกเบี้ยลดลง ㆍ ภาระต่อเดือนไม่เพิ่มจากเดิม
เลือกเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรังได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป
หมายเหตุ : ลูกหนี้ที่เข้าข่ายเป็นหนี้รื้อร้ง จะได้รับการติดต่อจากเจ้าหนี้ โดยหาก 5 ปีที่ผ่านมา ลูกหนี้จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม จะได้รับข้อเสนอปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี ดอกเบี้ยไม่เกิน 15% ต่อปี
ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
เงื่อนไขการปิดวงเงินจะช่วยให้ลูกหนี้มีวินัยทางการเงินเพิ่มขึ้นและสามารถปิดจบหนี้ได้ภายใน 5 ปี
อย่างไรก็ดี กรณีลูกหนี้ที่เข้ามาตรการฯ มีความจำเป็นฉุกเฉิน เช่น เจ็บป่วย ได้รับอุบัติเหตุ ตกงาน ผู้ให้บริการอาจพิจารณาให้สินเชื่อได้ หากลูกหนี้มีความสามารถในการชำระหนี้เพียงพอ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับนโยบายและเงื่อนไขของผู้ให้บริการแต่ละแห่ง
กรณีลูกหนี้มีบัตรกดเงินสดมากกว่า 1 ใบ สามารถเลือกเข้าโครงการแค่บางบัตร และเก็บวงเงินบัตรกดเงินสดที่เหลือไว้ก่อนได้
มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง..ช่วยเหลือลูกหนี้อย่างไร?
ถ้าได้รับแจ้งเตือนว่าเป็นลูกหนี้เรื้อรัง (severe PD) จะได้รับข้อเสนอให้สมัครเข้าร่วมมาตรการเพื่อปิดจบหนี้ ซึ่งจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมมาตรการ ดังนี้
** สำหรับลูกหนี้ที่เริ่มเรื้อรัง (general PD) ให้รีบติดต่อเจ้าหนี้หากต้องการแก้หนี้ เจ้าหนี้จะมีแนวทางให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมเป็นรายกรณี **
การแจ้งเตือนเมื่อเข้าข่ายลูกหนี้เรื้อรัง
ความถี่การแจ้งเตือนจากเจ้าหนี้
ช่องทางการแจ้งเตือน
โดยลูกหนี้เรื้อรังจะได้รับข้อเสนอแนวทางการปิดจบหนี้จากเจ้าหนี้ด้วย
หนี้เรื้อรัง คืออะโร.. แค่ไหนที่เรียกว่าเรื้อรัง?
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
ลูกหนี้เรื้อรัง 2 แบบ
1. เริ่มเป็นหนี้เรื้อรัง (general PD)
2. เป็นหนี้เรื้อรัง (severe PD)
** ธปท. กำหนดเกณฑ์รายได้ เพื่อมุ่งให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ที่เดือดร้อนที่สุดก่อน โดยพิจารณาความเรื้อรังและรายได้ที่ไม่สูงมากของลูกหนี้ **
ทวงหนี้อย่างเป็นธรรม ต้องแจ้งข้อมูลสำคัญอะไรบ้าง
เจ้าหนี้จะต้องแจ้งรายละเอียดของภาระหนี้พร้อมข้อมูลสำคัญอื่น ๆ แก่ลูกหนี้ให้ครบถ้วน เช่น
และห้ามเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ก่อน ยกเว้น ลูกหนี้ล้มละลายหรือติดต่อไม่ได้
#ResponsibleLending #แก้หนี้ยั่งยืน #เจ้าหนี้รับผิดชอบ #ลูกหนี้มีวินัย
มีหนี้กับหลายเจ้าหนี้จะทำอย่างไร?
เคยปรับโครงสร้างหนี้แล้วขอปรับซ้ำได้ไหม?
หมายเหตุ: เกณฑ์ Responsible Lending ลูกหนี้มีสิทธิขอปรับโครงสร้างหนี้ ก่อนเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง และหลังเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง โดยนับรวมการปรับโครงสร้างหนี้ก่อน 1 ม.ค. 67
สัญญาณปัญหาหนี้
สัญญาณว่าลูกหนี้กำลังมีปัญหา เช่น จ่ายขั้นต่ำ จ่ายช้า กดบัตรเงินสดมาจ่ายคืนหนี้อื่น รายได้ไม่พอรายจ่าย ถ้าเห็นสัญญาณแบบนี้ไปคุยกับเจ้าหนี้ได้เลย !!
หมายเหตุ: สนใจติดต่อ Call center และสาขาของธนาคารที่ท่านใช้บริการ
ปิดหนี้ก่อนกำหนดได้ ไม่ต้องจ่าย Prepayment fee
Prepayment fee คือ ค่าปรับจากการไถ่ถอนสินเชื่อก่อนกำหนด
ธปท. ห้ามเรียกเก็บ prepayment fee ในสินเชื่อภายใต้กำกับของ ธปท. ดังนี้
** ยกเว้นสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังเรียกเก็บ prepayment fee ได้ในกรณีรีไฟแนนซ์ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา เพื่อให้ลูกหนี้มีโอกาสได้ดอกเบี้ยต่ำในช่วง 3 ปีแรก
ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ต่อไปนี้ !! สถาบันการเงินและ Non-bank ภายใต้การกำกับดูแลของ ธปท. ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ยกเว้น สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังสามารถเรียกเก็บค่าปรับรีไฟแนนซ์ได้ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา
หนี้ “ปรับ” ได้
ปัญหาหนี้มีทางออก เจ้าหนี้ต้องเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ ให้กับลูกหนี้ที่ยังไม่เคยได้รับการปรับโครงสร้างหนี้
1. เจ้าหนี้ต้องเสนอปรับโครงสร้างหนี้ (ก่อน 1 หลัง 1)
2. เจ้าหนี้ห้ามโอนขายหนี้ก่อนครบกำหนด 60 วัน หลังเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ /กรณีให้เช่าซื้อหรือให้เช่าแบบ ลีสซิ่ง ต้องไม่บอกเลิกสัญญาหรือจำหน่ายทรัพย์ก่อนครบกำหนด 15 วัน หลังเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้
หมายเหตุ: สนใจติดต่อ Call center และสาขาของธนาคารที่ท่านใช้บริการ
Chairman: Khun Wattanaron Witthayapraphakul (United Overseas Bank (Thai) Public Company Limited)
Coordinator: Khun Pattamaphon Thuansakul
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณวัฒนรณ วิทยประภากุล (ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณปัทมาพร เตือนสกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Than Siripokee (Acting Chairman)
Coordinator: Khun Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณทัฬห์ สิริโภคี (รักษาการประธาน)
ผู้ประสานงาน: คุณศุภดา รัตนพงษ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณประทิน กิจจารุวรรรกุล (ธนาคารเกียรตินาคินภัทร จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณธรรมนูญ หาญประสิทธิ์คำ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Atip Silpajikarn (Ayutthaya Capital Services Company Limited)
Coordinator: Khun Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณอธิป ศิลป์พจีการ (บริษัท อยุธยา แคปปิตอล เซอร์วิสเซส จำกัด)
ผู้ประสานงาน: คุณวสุนทรี ไตรอุโฆษ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Oraphan Siritanyong (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณอรพรรณ ศิริตันหยง (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณนิภาพร ดาวขนอน
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Khun Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณฐิติวร โชตยาภรณ์ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณจิตติ วิจิตรบรรจง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณสุธีรา ศรีไพบูลย์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสัมพันธนี อภัยพันธุ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Panabhand Hankijjakul (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Oraphan Ketlertprasert
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณปานะพันธ์ หาญกิจจะกุล (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณอรพรรณ เกตุเลิศประเสริฐ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Co Acting Chairman: Khun Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Co Acting Chairman: Khun Suchanee Lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
รักษาการประธาน: คุณเศรษฐรัฐ ณ นคร (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน))
รักษาการประธาน: คุณสุชาณี ลวนะวณิช (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณมลฤดี ตีรรุ่งเรือง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Worawat Suwakon (The Siam Commercial Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Wichitra Tangsangkharom
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณวรวัจน์ สุวคนธ์ (ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณวิจิตรา ตั้งสังขะรมย์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Phattrapha Hongkumdee (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณภัทราภา หงษ์คำดี (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณวรัท อัตตะนันทน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Piyapong Sangpattarachait (Kasikornbank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Watchakan Sethaput
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณปิยะพงศ์ แสงภัทราชัย (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด(มหาขน))
ผู้ประสานงาน: คุณวัชกานต์ เศรษฐบุตร
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
ประธาน: ดร.พชรพจน์ นันทรามาศ (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: ดร.ฉมาดนัย มากนวล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
ประธาน: คุณสุวิทย์ อินทรเฉลิม (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณศุภวัตร มะเส็ง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้นเพื่อดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมโดยความเห็นชอบของสมาชิกซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินงานของสมาคมธนาคารไทย ดังนี้
Chairman: Khun Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
Chairman: Khun Atis Ruchirawat (Krungsri Consumer)
Coordinator: Khun Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณอธิศ รุจิรวัฒน์ (กรุงศรี คอนซูมเมอร์)
ผู้ประสานงาน: คุณอัปสร สุทธาโรจน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Khun Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณกิตติชัย สิงหะ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณชุติภรณ์ จิรนันท์สุโรจน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Acting Chairman: Khun Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Supawadee Soita
Objectives: The Club is established
รักษาการประธาน: คุณจีรณา รามสูต (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสุภาวดี สร้อยตา
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Sureporn Tuncharuen (Siam Commercial Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณสุรีพร ตันจรูญ (ธนาคารทหารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสุนิษา เนตรสว่าง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Prassanee Uiyamapan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Warintra Srithipakorn
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณปรัศนี อุยยามะพันธุ์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณวรินทรา ศรีทิพากร
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณอรนุช นำพูลสุขสันติ์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสาวรุ่งรัตน์ รัตนราชชาติกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น