พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี แถลงทางวิดีโอต่อประชาชน เผยแพร่ทางเฟซบุ๊กประยุทธ์ จันทร์โอชา เสนอแนวทางเดินหน้าประเทศต่อ พร้อมประกาศ “กลยุทธ์ 3 แกน สร้างอนาคต” เพื่อแก้ปัญหาความยากจนให้หมดไป
ในวิดีโอความยาวเกือบ 18 นาที นายกรัฐมนตรีชี้ว่าประเทศกำลังกลับเข้าสู่การใช้ชีวิตที่ใกล้เคียงปกติ แต่ภัยเศรษฐกิจจากผลกระทบของสงครามรัสเซีย-ยูเครน เป็นปัญหาใหญ่ที่ต้องเผชิญ ดังนั้นเขาจึงเสนอกลยุทธ์แก้ปัญหาปากท้องและความยากจนให้หมดไปผ่านกลยุทธ์ใหม่
การออกแถลงการณ์ครั้งล่าสุดของนายกรัฐมนตรีมีขึ้นท่ามกลางกระแสการเทียบเคียงการทำงานและการประชาสัมพันธ์ผลงานของรัฐบาลกับผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.) คนใหม่ ซึ่งรัฐมนตรีในรัฐบาลบางคนระบุว่ารัฐบาลทำงานมาโดยตลอด แต่นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประชาสัมพันธ์ไม่เก่ง
ในตอนหนึ่งของวิดีโอนี้ พล.อ.ประยุทธ์ ขอให้ประชาชนอดทนกับการทำงานของเขา
“ผมขอบคุณทุกท่าน ที่ใจเย็นกับผม ให้ผมได้เอาแผนโครงการที่ยิ่งใหญ่ ผลักดันมาสู่การปฏิบัติจริง ผมไม่ใช่คนที่แสดงออกหรือนำเสนออะไรได้เก่งนัก แต่ผมรู้ว่า ผมจะต้องทำอย่างไรเพื่อให้เรื่องใหญ่ๆ เกิดขึ้นจริงได้ บางครั้งผมอาจจะพูดอะไรที่ฟังดูตลก แต่ขอให้ทุกท่านรู้ว่า ผมบริสุทธิ์ใจ และหัวใจของผมอยู่กับประชาชนทุกคน และอยู่กับประเทศไทยครับ”
แม้ในมุมมองของผู้เชี่ยวชาญด้านการประชาสัมพันธ์จะเห็นว่าเงื่อนไขสำคัญที่จะทำให้การประชาสัมพันธ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากฝั่งรัฐบาลประสบความสำเร็จคือต้องเปิดให้มีบทสนทนา ระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร แต่ในวิดีโอล่าสุดที่เผยแพร่ทางเฟซบุ๊กของนายกรัฐมนตรี ไม่ได้เปิดโอกาสให้ผู้เข้าชมแสดงความคิดเห็น แต่สามารถกดไลก์ และแชร์ เพื่อกระจายเนื้อหาวิดีโอกลยุทธ์ 3 แกน สร้างอนาคต ของเขาได้ ซึ่งหลังจากเผยแพร่นาน 1 ชม.มีผู้แชร์ 155 ครั้ง
รายละเอียดกลยุทธ์ 3 แกน
แกนที่ 1 คือการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทั้งทางรถไฟ รถไฟความเร็วสูง ถนน สนามบิน และท่าเรือ ที่เขาระบุว่ารัฐบาลในอดีตหลายรัฐบาลวางแผนโครงการ “สวยหรู” แต่ปล่อยขึ้นหิ้ง ไม่ถูกทำให้เกิดขึ้นจริง แต่เขามุ่งมั่นจะทำให้โครงการนับร้อยเหล่านั้นเกิดขึ้นจริง
แกนที่ 2 คือแกนที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมยานยนต์และอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง โดยเน้นจะทำให้ไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าของโลก ผ่านการให้ความช่วยเหลือผู้ผลิตยานยนต์ระดับโลกในการขยายการลงทุนและธุรกิจในไทย ที่เขาอ้างว่ามีผู้สนใจแล้วหลายราย และแผนระยะต่อไปของเขาคือการทำให้คนไทยได้ใช้รถยนต์ไฟฟ้าในราคาถูกลง
แกนที่ 3 คือการพลิกโฉมภาคการธนาคารเพื่อให้ลูกค้ารายเล็กเข้าถึงเงินกู้ของธนาคารได้มากขึ้น ประชาชนทุกกลุ่มมีโอกาสได้ใช้บริการของธนาคาร และนำเทคโนโลยีล้ำสมัยมาใช้ในการทำงานของธนาคาร
นายกรัฐมนตรียังกล่าวด้วยว่าความร่วมมือของประชาชนตลอดสองปีที่ผ่านมา ในการต่อสู้กับโรคโควิด-19 ทำให้โลกได้เห็นว่าไทยเป็นประเทศที่จัดการกับโควิดได้ดีที่สุดประเทศหนึ่งในโลก และหากประชาชนร่วมมือกันอีกครั้ง โครงการต่าง ๆ ตามกลยุทธ์ใหม่ที่เขาเสนอจะเริ่มเห็นผลในเวลาไม่เกิน 2 ปีข้างหน้า
ก่อนหน้านี้ นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) ออกมาวิจารณ์ ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ พ่อเมืองกรุงเทพฯ ว่า “ดีแต่พีอาร์เก่ง”
รวมทั้ง นายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานที่บอกผู้สื่อข่าว “ลุงตู่เก่งที่สุดในโลก” บนพื้นฐานของข้อมูลที่ไทย “มีการส่งออกสูงที่สุดในรอบ 30 ปี มีประเทศไทย เป็นประเทศเดียวในโลก จากทั้งหมด 22 ประเทศ ที่ลงทุนที่ได้กำไร ผู้บริหารบริษัทของประเทศญี่ปุ่นให้เงินลงทุนมาอีก 3,000 ล้านบาท แบบนี้จะไม่เรียกว่าเก่งที่สุดในโลกหรือไม่”
ในเวลาต่อมา รศ. ประไพพิศ มุทิตาเจริญ อาจารย์ประจำสาขาสื่อสารองค์กร คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โพสต์ชี้แจงเรื่องนึ้ว่า พีอาร์เก่งไม่ได้เท่ากับงบประมาณมากหรือน้อยเป็นสำคัญ และไม่เท่ากับการสื่อสารข้อมูลและเรื่องราวที่ไม่จริง
“พีอาร์แปลตามตัวตรงๆ มันคืองานสร้างความสัมพันธ์กับสาธารณะ ซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นจากการทุ่มเงินทำแคมเปญและสื่อสารเรื่องของเรา ที่เราอาจคิดอยู่(ฝ่ายเดียว?)ว่ามีคุณค่า แต่คนอื่นไม่ได้รู้สึกถึงคุณค่านั้น จริงๆ แล้วความสัมพันธ์สาธารณะมันเกิดจาก trust และ trust ย่อมมาจาก good action หรือการทำงานที่ดี สาธารณชนจึงยินยอมพร้อมใจที่จะสร้างความสัมพันธ์ด้วยนี่คือความสัมพันธ์ที่แท้จริงต่างหาก เราเชื่อว่างานพีอาร์คือการสร้างส่วนแบ่งทางจิตใจ ที่ต้องมีสองขาคู่กันเสมอ คือ action และ communication ถ้ามีขาเดียวคือแค่ communication แต่ action ไม่มี เค้าเรียกว่าพูดเก่งเฉยๆ”
ที่มา: www.prachachat.net
Chairman: Mr. Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Than Siripokee (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Paisarn Lertkowit (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Kristsanee Disapad
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Ms. Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Pongpichet Nananukool (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kitipong Muttamara (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Manisa Rueangsri
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Atis Ruchirawat Ayudhya Capital Services Co., Ltd.
Coordinator: Ms. Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Mr. Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
: Ms. Suchanee.lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: K. Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Pornvalai Kulrojseth (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: -
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Puntipa Hannoraseth (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Tippawan Bannajirakul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Waranee Wanrat (TMBThanachart Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Ms. Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Natchanok Aryukong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Vasin Udomratchatavanich Bank of Ayudhya Public Company Limited
Coordinator: Ms. Manduan Aeambunapong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Sant Thaosuwan (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. luesak Sukasem (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
ธรรมาภิบาล(Governance) : มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี และดำเนินการกำกับดูแลได้อย่างมีประสิทธิผลในระดับคณะกรรมการ โดยกำหนดภาระและขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนในระดับการจัดการในเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
ยุทธศาสตร์ (Strategy) : บูรณาการพันธกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล เข้ากับยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจและกำหนดกรอบด้านการเงินที่ยั่งยืน โดยสนับสนุนเพื่อให้ประเทศสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างราบรื่น
This will close in 500 seconds
การบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล (ESG Risk Management) : ผนวกรวมประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ไว้ในกระบวนการบริหารความเสี่ยง
This will close in 500 seconds
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน(Financial Products) : ปรับใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางการเงิน รวมทั้งนวัตกรรมทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
This will close in 500 seconds
การสื่อสาร (Communication) : สื่อสารและประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนในการสร้างจิตสำนึกสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน (Disclosure) : พัฒนาระบบการติดตามและการรายงานที่สอดคล้องกับกรอบการกำกับดูแลของประเทศไทยและมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนในระดับสากล
This will close in 500 seconds
3 เรื่องต้องรู้ก่อนเข้าร่วมมาตรการปิดจบ หนี้เรื้อรัง
**สามารถขอออกจากมาตรการได้ แต่จะไม่ได้รับสิทธิแก้หนี้ตามเงื่อนไขเดิม**
3 เรื่องต้องรู้ หากจ่ายขั้นต่ำบัตรกดเงินสดนาน ๆ
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
1. แม้ภาระต่อเดือนไม่สูง แต่ใช้เวลานาน กว่าจะหมดหนี้
2. ยอดขั้นต่ำที่จ่ายแต่ละเดือนเป็นดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้น
3. เมื่อผ่อนจบพบว่ายอดรวมที่จ่ายไปส่วนใหญ่คือ ดอกเบี้ย
อยากหมดหนี้ไว ㆍจ่ายดอกเบี้ยลดลง ㆍ ภาระต่อเดือนไม่เพิ่มจากเดิม
เลือกเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรังได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป
หมายเหตุ : ลูกหนี้ที่เข้าข่ายเป็นหนี้รื้อร้ง จะได้รับการติดต่อจากเจ้าหนี้ โดยหาก 5 ปีที่ผ่านมา ลูกหนี้จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม จะได้รับข้อเสนอปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี ดอกเบี้ยไม่เกิน 15% ต่อปี
ตัวอย่าง
ใช้บัตรกดเงินสด
วงเงินหมุนเวียน 15,000 บาท
ผ่อนขั้นต่ำ (3%) มาแล้ว 5 ปี
เหลือจ่ายเงินต้นอีก 8,700 บาท
ทางเลือกที่ 1 : ผ่อนขั้นต่ำต่อไปจนครบ ดอกเบี้ย 25% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 13 ปี 5 เดือน
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 14,000 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 29,000 บาท
ทางเลือกที่ 2 : เข้าโครงการแก้หนี้เรื้อรัง ดอกเบี้ย 15% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 3 ปี 6 เดือน (เดือนละ 260 บาท)
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 2,500 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 17,500 บาท
*ประหยัดดอกเบี้ยได้ 11,500 บาท*
หมายเหตุ: ผ่อนเดือนละ 260 บาท เท่ากับยอดการผ่อนขั้นต่ำ ณ เดือนสุดท้ายของปีที่ 5 ก่อนเข้าโครงการ
ตอบข้อสงสัย มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(1) ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
(2) ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(3) การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
เพราะหนี้บัตรเครดิตมี (1) อัตราดอกเบี้ย และ (2) เงื่อนไขการผ่อนชำระที่ทำให้ไม่เข้าข่ายหนี้เรื้อรังที่จ่ายดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้นและใช้เวลานานในการปิดจบ
ลูกหนี้บัตรเครดิตจ่ายขั้นต่ำที่ 8% ทำให้จ่ายชำระเงินต้นมากกว่าดอกเบี้ย ลูกหนี้สามารถปิดจบหนี้ได้ภายในระยะเวลาไม่นานนัก
บัตรกดเงินสดมักจ่ายขั้นต่ำที่ 3% และดอกเบี้ยส่วนใหญ่อยู่ที่ 25% ต่อปี ซึ่งจะทำให้ ตัดจ่ายดอกเบี้ย 2% และตัดเงินต้นเพียง 1%
ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
เงื่อนไขการปิดวงเงินจะช่วยให้ลูกหนี้มีวินัยทางการเงินเพิ่มขึ้นและสามารถปิดจบหนี้ได้ภายใน 5 ปี
อย่างไรก็ดี กรณีลูกหนี้ที่เข้ามาตรการฯ มีความจำเป็นฉุกเฉิน เช่น เจ็บป่วย ได้รับอุบัติเหตุ ตกงาน ผู้ให้บริการอาจพิจารณาให้สินเชื่อได้ หากลูกหนี้มีความสามารถในการชำระหนี้เพียงพอ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับนโยบายและเงื่อนไขของผู้ให้บริการแต่ละแห่ง
กรณีลูกหนี้มีบัตรกดเงินสดมากกว่า 1 ใบ สามารถเลือกเข้าโครงการแค่บางบัตร และเก็บวงเงินบัตรกดเงินสดที่เหลือไว้ก่อนได้
การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
จะมีการรายงานข้อมูลใน NCB โดยเพิ่มการรายงานประเภทของสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ "รหัส (code) 03" โดยจะไม่กระทบสถานะบัญชีลูกหนี้ที่ยังเป็น 10-ปกติ เช่นเดิมทั้งนี้ การรายงานนี้ จะช่วยให้ผู้ให้บริการทราบถึงการเข้าโครงการซึ่งสะท้อนความตั้งใจที่ดีในการแก้ปัญหาหนี้ของลูกหนี้
มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง..ช่วยเหลือลูกหนี้อย่างไร?
ถ้าได้รับแจ้งเตือนว่าเป็นลูกหนี้เรื้อรัง (severe PD) จะได้รับข้อเสนอให้สมัครเข้าร่วมมาตรการเพื่อปิดจบหนี้ ซึ่งจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมมาตรการ ดังนี้
** สำหรับลูกหนี้ที่เริ่มเรื้อรัง (general PD) ให้รีบติดต่อเจ้าหนี้หากต้องการแก้หนี้ เจ้าหนี้จะมีแนวทางให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมเป็นรายกรณี **
การแจ้งเตือนเมื่อเข้าข่ายลูกหนี้เรื้อรัง
ความถี่การแจ้งเตือนจากเจ้าหนี้
ช่องทางการแจ้งเตือน
โดยลูกหนี้เรื้อรังจะได้รับข้อเสนอแนวทางการปิดจบหนี้จากเจ้าหนี้ด้วย
หนี้เรื้อรัง คืออะโร.. แค่ไหนที่เรียกว่าเรื้อรัง?
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
ลูกหนี้เรื้อรัง 2 แบบ
1. เริ่มเป็นหนี้เรื้อรัง (general PD)
2. เป็นหนี้เรื้อรัง (severe PD)
** ธปท. กำหนดเกณฑ์รายได้ เพื่อมุ่งให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ที่เดือดร้อนที่สุดก่อน โดยพิจารณาความเรื้อรังและรายได้ที่ไม่สูงมากของลูกหนี้ **
ทวงหนี้อย่างเป็นธรรม ต้องแจ้งข้อมูลสำคัญอะไรบ้าง
เจ้าหนี้จะต้องแจ้งรายละเอียดของภาระหนี้พร้อมข้อมูลสำคัญอื่น ๆ แก่ลูกหนี้ให้ครบถ้วน เช่น
และห้ามเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ก่อน ยกเว้น ลูกหนี้ล้มละลายหรือติดต่อไม่ได้
#ResponsibleLending #แก้หนี้ยั่งยืน #เจ้าหนี้รับผิดชอบ #ลูกหนี้มีวินัย
มีหนี้กับหลายเจ้าหนี้จะทำอย่างไร?
เคยปรับโครงสร้างหนี้แล้วขอปรับซ้ำได้ไหม?
หมายเหตุ: เกณฑ์ Responsible Lending ลูกหนี้มีสิทธิขอปรับโครงสร้างหนี้ ก่อนเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง และหลังเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง โดยนับรวมการปรับโครงสร้างหนี้ก่อน 1 ม.ค. 67
สัญญาณปัญหาหนี้
สัญญาณว่าลูกหนี้กำลังมีปัญหา เช่น จ่ายขั้นต่ำ จ่ายช้า กดบัตรเงินสดมาจ่ายคืนหนี้อื่น รายได้ไม่พอรายจ่าย ถ้าเห็นสัญญาณแบบนี้ไปคุยกับเจ้าหนี้ได้เลย !!
หมายเหตุ: สนใจติดต่อ Call center และสาขาของธนาคารที่ท่านใช้บริการ
ปิดหนี้ก่อนกำหนดได้ ไม่ต้องจ่าย Prepayment fee
Prepayment fee คือ ค่าปรับจากการไถ่ถอนสินเชื่อก่อนกำหนด
ธปท. ห้ามเรียกเก็บ prepayment fee ในสินเชื่อภายใต้กำกับของ ธปท. ดังนี้
** ยกเว้นสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังเรียกเก็บ prepayment fee ได้ในกรณีรีไฟแนนซ์ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา เพื่อให้ลูกหนี้มีโอกาสได้ดอกเบี้ยต่ำในช่วง 3 ปีแรก
ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ต่อไปนี้ !! สถาบันการเงินและ Non-bank ภายใต้การกำกับดูแลของ ธปท. ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ยกเว้น สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังสามารถเรียกเก็บค่าปรับรีไฟแนนซ์ได้ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา