"พีระพันธุ์" เล็งปลดล็อกกฎหมายช่วยกลุ่มคนตัวเล็ก เศรษฐกิจฐานราก เข้าถึงแหล่งทุน พักหนี้ง่ายขึ้น
เมื่อวันที่ 9 ส.ค.65 นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค หัวหน้าพรรครวมไทยสร้างชาติ กล่าวว่า หลังจากเปิดตัวเป็นหัวหน้าพรรครวมไทยสร้างชาติ ตอนนี้มีประชาชนสอบถามนโยบายและแนวทางของพรรคมามากขึ้น หลายคนสนใจในแนวทางของพรรคที่ประกาศออกไปแล้วว่า เราจะเป็นพรรคที่ช่วยแก้ปัญหาให้กับประชาชนในทุกเรื่องที่เขาเดือดร้อน จะเป็นพรรคที่ประชาชนสามารถพึ่งได้ ซึ่งได้รับเสียงตอบรับมาอย่างดี อย่างตอนที่ตนไปลงพื้นที่ที่เขตห้วยขวาง ดินแดงได้พูดคุยกับพี่น้องประชาชนก็ได้สะท้อนความเดือดร้อนให้ฟัง และอยากให้เข้าไปช่วยเรื่องการทำมาหากิน การใช้ชีวิตในทุกวันนี้ที่ได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจ ซึ่งถือเป็นเรื่องเร่งด่วน ตนก็รับมาเพราะเป็นแนวทางหลักของพรรคอยู่แล้วที่มุ่งเรื่องการทำงานให้กับประชาชน และต้องการให้สามารถผ่านพ้นช่วงนี้ไปด้วยกันอย่างเท่าเทียม โดยเฉพาะกลุ่มคนตัวเล็กๆ ประชาชนทั่วไป กิจการค้าขนาดเล็ก ขนาดกลาง ที่กำลังได้รับความยากลำบากจากความเหลื่อมล้ำเพราะกฎกติกา กฎหมายบางประการที่ไม่เอื้ออำนวยในการทำมาหากินในขณะนี้
นายพีระพันธุ์ กล่าวต่อว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นทำให้ประชาชนใช้ชีวิตลำบากในขณะนี้ ทั้งเรื่องของเศรษฐกิจ หรือสังคม เห็นว่าสาเหตุหลักอยู่ที่เรื่องของความเหลื่อมล้ำ พรรครวมไทยสร้างชาติจึงให้ความสำคัญเรื่องของความเหลื่อมล้ำ และความเป็นธรรมมาเป็นอันดับแรก เพราะความเหลื่อมล้ำไม่ได้แปลว่า มีความไม่เท่าเทียมกันทางสังคมเท่านั้น แต่หมายถึงทุกเรื่อง รวมถึงเรื่องเศรษฐกิจด้วย ยกตัวอย่างเช่น บริษัทกิจการใหญ่ๆ ที่ใหญ่อยู่แล้ว มีขีดความสามารถอยู่แล้วแต่กลับได้ดอกเบี้ยที่ถูกกว่าบริษัทเล็กๆ คนตัวเล็กๆ ต้องการได้เงินทุนแค่หลักหมื่น หรือหลักแสน ยังเป็นเรื่องยากลำบาก แต่บริษัทใหญ่ๆ ขอครั้งละหลักพันล้านกลับทำได้ง่าย นี่คือความเหลื่อมล้ำอย่างเห็นได้ชัด ทำให้กิจการเล็กๆ คนธรรมดาทั่วไป ไม่สามารถเติบโตได้ และส่งผลไปยังเศรษฐกิจโดยรวมของประชาชนทั่วไปที่มีจำนวนมากกว่ากลุ่มทุนหรือกิจการขนาดใหญ่
“เวลาที่บริษัทใหญ่ๆ เกิดปัญหา กิจการเดินไม่ได้มีกฎหมายพักหนี้ ขอฟื้นฟูกิจการได้ แต่คนธรรมดาสามัญกิจการเล็กๆ กลับไม่ได้ เพราะมีกำหนดว่าต้อง 10 ล้านขึ้นไป อย่างนี้ไม่ได้เป็นกฎหมายเพื่อสังคมแล้ว กลายเป็นกฎหมายเพื่อกิจการใหญ่ๆ อย่างนี้เหลื่อมล้ำไหม เท่าเทียมไหม เรื่องนี้มันเกิดขึ้นตลอดเวลา มันเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจ เพราะฉะนั้นสิ่งต่างๆ เหล่านี้คือสิ่งที่ผมคิดว่าพรรครวมไทยสร้างชาติจะมาดูแลแก้ปัญหาเหล่านี้ให้กับสังคม” นายพีระพันธุ์ กล่าว
หัวหน้าพรรครวมไทยสร้างชาติ กล่าวต่อว่า เรื่องของเศรษฐกิจปัจจุบันเป็นเรื่องที่ใหญ่มาก ตนพูดมาตลอดว่าเพราะไม่ได้เกิดที่ประเทศไทยประเทศเดียว แต่เกิดทั่วโลก เป็นเรื่องยากมากที่ใครจะมาบอกว่าจะพลิกฟื้นเศรษฐกิจได้ในเวลาอันรวดเร็ว ถึงแม้จะบอกว่ามีทีมเศรษฐกิจก็ยังทำไม่ได้ พวกนักวิชาการ นักเศรษฐศาสตร์ส่วนใหญ่มองแต่บริษัทใหญ่เป็นตัวสร้างจีดีพี ตัวเลขที่ดี แต่สำหรับตนไม่ใช่ ตนให้ความสำคัญกับคนตัวเล็ก กิจการขนาดเล็ก ขนาดกลางที่มีจำนวนมาก ที่เป็นส่วนผลักดันเศรษฐกิจของประเทศ ถ้ากลุ่มนี้มีปัญหาไม่มีใครเข้าไปช่วยเหลือดูแล กฎหมายระเบียบต่างๆ ไม่ได้ช่วยให้เขาพลิกฟื้นสถานะขึ้นมาได้ สุดท้ายสังคมก็จะมีปัญหา
“ที่เราเห็นข่าวมาเยอะ คนที่เป็นเจ้าของกิจการขนาดเล็ก ขนาดกลางต้องฆ่าตัวตายเพราะมีปัญหารุมเร้าไม่มีที่ไป เงินทุนหาไม่ได้ ถูกฟ้องล้มละลาย แต่บริษัทใหญ่ขอพักหนี้ได้ กฎหมายให้ อย่างนี้ผมถามว่าเป็นความเสมอภาคเท่าเทียมไหม ในภาวะแบบนี้สิ่งที่เราต้องปลดล็อกคือทำอย่างไรให้คนเหล่านี้เขาหยุดพักหนี้ได้ ให้เขามีโอกาสลืมตาอ้าปากได้ กลับมายืนแกร่งได้เหมือนเดิม ใครจะช่วยได้ถ้าเราไม่แก้กฎเกณฑ์ กติกา ถ้าเราไม่ปล่อยให้ระบบธนาคาร หรือมีระบบกองทุนให้เขาหยิบยืมไปใช้ในภาวะจำเป็นแล้วใครจะช่วยเขาถ้าไม่ใช่ฝ่ายการเมือง นั่นคือสิ่งที่เราให้ความสำคัญคือกลุ่มคนตัวเล็ก กลุ่มเศรษฐกิจฐานรากที่กำลังได้รับความเดือดร้อนในขณะนี้”นายพีระพันธุ์ กล่าว
ที่มา: www.newtv.co.th
Chairman: Mr. Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Than Siripokee (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Paisarn Lertkowit (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Kristsanee Disapad
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Ms. Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Pongpichet Nananukool (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kitipong Muttamara (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Manisa Rueangsri
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Atis Ruchirawat Ayudhya Capital Services Co., Ltd.
Coordinator: Ms. Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Mr. Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
: Ms. Suchanee.lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: K. Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Pornvalai Kulrojseth (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: -
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Puntipa Hannoraseth (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Tippawan Bannajirakul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Waranee Wanrat (TMBThanachart Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Ms. Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Natchanok Aryukong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Vasin Udomratchatavanich Bank of Ayudhya Public Company Limited
Coordinator: Ms. Manduan Aeambunapong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Sant Thaosuwan (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. luesak Sukasem (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
ธรรมาภิบาล(Governance) : มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี และดำเนินการกำกับดูแลได้อย่างมีประสิทธิผลในระดับคณะกรรมการ โดยกำหนดภาระและขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนในระดับการจัดการในเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
ยุทธศาสตร์ (Strategy) : บูรณาการพันธกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล เข้ากับยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจและกำหนดกรอบด้านการเงินที่ยั่งยืน โดยสนับสนุนเพื่อให้ประเทศสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างราบรื่น
This will close in 500 seconds
การบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล (ESG Risk Management) : ผนวกรวมประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ไว้ในกระบวนการบริหารความเสี่ยง
This will close in 500 seconds
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน(Financial Products) : ปรับใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางการเงิน รวมทั้งนวัตกรรมทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
This will close in 500 seconds
การสื่อสาร (Communication) : สื่อสารและประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนในการสร้างจิตสำนึกสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน (Disclosure) : พัฒนาระบบการติดตามและการรายงานที่สอดคล้องกับกรอบการกำกับดูแลของประเทศไทยและมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนในระดับสากล
This will close in 500 seconds
3 เรื่องต้องรู้ก่อนเข้าร่วมมาตรการปิดจบ หนี้เรื้อรัง
**สามารถขอออกจากมาตรการได้ แต่จะไม่ได้รับสิทธิแก้หนี้ตามเงื่อนไขเดิม**
3 เรื่องต้องรู้ หากจ่ายขั้นต่ำบัตรกดเงินสดนาน ๆ
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
1. แม้ภาระต่อเดือนไม่สูง แต่ใช้เวลานาน กว่าจะหมดหนี้
2. ยอดขั้นต่ำที่จ่ายแต่ละเดือนเป็นดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้น
3. เมื่อผ่อนจบพบว่ายอดรวมที่จ่ายไปส่วนใหญ่คือ ดอกเบี้ย
อยากหมดหนี้ไว ㆍจ่ายดอกเบี้ยลดลง ㆍ ภาระต่อเดือนไม่เพิ่มจากเดิม
เลือกเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรังได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป
หมายเหตุ : ลูกหนี้ที่เข้าข่ายเป็นหนี้รื้อร้ง จะได้รับการติดต่อจากเจ้าหนี้ โดยหาก 5 ปีที่ผ่านมา ลูกหนี้จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม จะได้รับข้อเสนอปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี ดอกเบี้ยไม่เกิน 15% ต่อปี
ตัวอย่าง
ใช้บัตรกดเงินสด
วงเงินหมุนเวียน 15,000 บาท
ผ่อนขั้นต่ำ (3%) มาแล้ว 5 ปี
เหลือจ่ายเงินต้นอีก 8,700 บาท
ทางเลือกที่ 1 : ผ่อนขั้นต่ำต่อไปจนครบ ดอกเบี้ย 25% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 13 ปี 5 เดือน
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 14,000 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 29,000 บาท
ทางเลือกที่ 2 : เข้าโครงการแก้หนี้เรื้อรัง ดอกเบี้ย 15% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 3 ปี 6 เดือน (เดือนละ 260 บาท)
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 2,500 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 17,500 บาท
*ประหยัดดอกเบี้ยได้ 11,500 บาท*
หมายเหตุ: ผ่อนเดือนละ 260 บาท เท่ากับยอดการผ่อนขั้นต่ำ ณ เดือนสุดท้ายของปีที่ 5 ก่อนเข้าโครงการ
ตอบข้อสงสัย มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(1) ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
(2) ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(3) การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
เพราะหนี้บัตรเครดิตมี (1) อัตราดอกเบี้ย และ (2) เงื่อนไขการผ่อนชำระที่ทำให้ไม่เข้าข่ายหนี้เรื้อรังที่จ่ายดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้นและใช้เวลานานในการปิดจบ
ลูกหนี้บัตรเครดิตจ่ายขั้นต่ำที่ 8% ทำให้จ่ายชำระเงินต้นมากกว่าดอกเบี้ย ลูกหนี้สามารถปิดจบหนี้ได้ภายในระยะเวลาไม่นานนัก
บัตรกดเงินสดมักจ่ายขั้นต่ำที่ 3% และดอกเบี้ยส่วนใหญ่อยู่ที่ 25% ต่อปี ซึ่งจะทำให้ ตัดจ่ายดอกเบี้ย 2% และตัดเงินต้นเพียง 1%
ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
เงื่อนไขการปิดวงเงินจะช่วยให้ลูกหนี้มีวินัยทางการเงินเพิ่มขึ้นและสามารถปิดจบหนี้ได้ภายใน 5 ปี
อย่างไรก็ดี กรณีลูกหนี้ที่เข้ามาตรการฯ มีความจำเป็นฉุกเฉิน เช่น เจ็บป่วย ได้รับอุบัติเหตุ ตกงาน ผู้ให้บริการอาจพิจารณาให้สินเชื่อได้ หากลูกหนี้มีความสามารถในการชำระหนี้เพียงพอ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับนโยบายและเงื่อนไขของผู้ให้บริการแต่ละแห่ง
กรณีลูกหนี้มีบัตรกดเงินสดมากกว่า 1 ใบ สามารถเลือกเข้าโครงการแค่บางบัตร และเก็บวงเงินบัตรกดเงินสดที่เหลือไว้ก่อนได้
การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
จะมีการรายงานข้อมูลใน NCB โดยเพิ่มการรายงานประเภทของสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ "รหัส (code) 03" โดยจะไม่กระทบสถานะบัญชีลูกหนี้ที่ยังเป็น 10-ปกติ เช่นเดิมทั้งนี้ การรายงานนี้ จะช่วยให้ผู้ให้บริการทราบถึงการเข้าโครงการซึ่งสะท้อนความตั้งใจที่ดีในการแก้ปัญหาหนี้ของลูกหนี้
มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง..ช่วยเหลือลูกหนี้อย่างไร?
ถ้าได้รับแจ้งเตือนว่าเป็นลูกหนี้เรื้อรัง (severe PD) จะได้รับข้อเสนอให้สมัครเข้าร่วมมาตรการเพื่อปิดจบหนี้ ซึ่งจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมมาตรการ ดังนี้
** สำหรับลูกหนี้ที่เริ่มเรื้อรัง (general PD) ให้รีบติดต่อเจ้าหนี้หากต้องการแก้หนี้ เจ้าหนี้จะมีแนวทางให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมเป็นรายกรณี **
การแจ้งเตือนเมื่อเข้าข่ายลูกหนี้เรื้อรัง
ความถี่การแจ้งเตือนจากเจ้าหนี้
ช่องทางการแจ้งเตือน
โดยลูกหนี้เรื้อรังจะได้รับข้อเสนอแนวทางการปิดจบหนี้จากเจ้าหนี้ด้วย
หนี้เรื้อรัง คืออะโร.. แค่ไหนที่เรียกว่าเรื้อรัง?
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
ลูกหนี้เรื้อรัง 2 แบบ
1. เริ่มเป็นหนี้เรื้อรัง (general PD)
2. เป็นหนี้เรื้อรัง (severe PD)
** ธปท. กำหนดเกณฑ์รายได้ เพื่อมุ่งให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ที่เดือดร้อนที่สุดก่อน โดยพิจารณาความเรื้อรังและรายได้ที่ไม่สูงมากของลูกหนี้ **
ทวงหนี้อย่างเป็นธรรม ต้องแจ้งข้อมูลสำคัญอะไรบ้าง
เจ้าหนี้จะต้องแจ้งรายละเอียดของภาระหนี้พร้อมข้อมูลสำคัญอื่น ๆ แก่ลูกหนี้ให้ครบถ้วน เช่น
และห้ามเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ก่อน ยกเว้น ลูกหนี้ล้มละลายหรือติดต่อไม่ได้
#ResponsibleLending #แก้หนี้ยั่งยืน #เจ้าหนี้รับผิดชอบ #ลูกหนี้มีวินัย
มีหนี้กับหลายเจ้าหนี้จะทำอย่างไร?
เคยปรับโครงสร้างหนี้แล้วขอปรับซ้ำได้ไหม?
หมายเหตุ: เกณฑ์ Responsible Lending ลูกหนี้มีสิทธิขอปรับโครงสร้างหนี้ ก่อนเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง และหลังเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง โดยนับรวมการปรับโครงสร้างหนี้ก่อน 1 ม.ค. 67
สัญญาณปัญหาหนี้
สัญญาณว่าลูกหนี้กำลังมีปัญหา เช่น จ่ายขั้นต่ำ จ่ายช้า กดบัตรเงินสดมาจ่ายคืนหนี้อื่น รายได้ไม่พอรายจ่าย ถ้าเห็นสัญญาณแบบนี้ไปคุยกับเจ้าหนี้ได้เลย !!
หมายเหตุ: สนใจติดต่อ Call center และสาขาของธนาคารที่ท่านใช้บริการ
ปิดหนี้ก่อนกำหนดได้ ไม่ต้องจ่าย Prepayment fee
Prepayment fee คือ ค่าปรับจากการไถ่ถอนสินเชื่อก่อนกำหนด
ธปท. ห้ามเรียกเก็บ prepayment fee ในสินเชื่อภายใต้กำกับของ ธปท. ดังนี้
** ยกเว้นสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังเรียกเก็บ prepayment fee ได้ในกรณีรีไฟแนนซ์ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา เพื่อให้ลูกหนี้มีโอกาสได้ดอกเบี้ยต่ำในช่วง 3 ปีแรก
ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ต่อไปนี้ !! สถาบันการเงินและ Non-bank ภายใต้การกำกับดูแลของ ธปท. ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ยกเว้น สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังสามารถเรียกเก็บค่าปรับรีไฟแนนซ์ได้ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา
หนี้ “ปรับ” ได้
ปัญหาหนี้มีทางออก เจ้าหนี้ต้องเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ ให้กับลูกหนี้ที่ยังไม่เคยได้รับการปรับโครงสร้างหนี้
1. เจ้าหนี้ต้องเสนอปรับโครงสร้างหนี้ (ก่อน 1 หลัง 1)